ปัญหาฝุ่น PM 2.5 ที่มาทุกปี เป็นเรื่องที่แก้ไขยาก แม้รัฐบาลมีแนวทางที่จะดำเนินการผ่านหลายหน่วยงาน แต่ดูเหมือนยังขาดความจริงจัง ตั้งแต่กลไกการทำงานจนถึงการจัดสรรงบประมาณ ทำให้แก้ปัญหาล้มเหลว ขณะที่ตัวแทนท้องถิ่นชี้รัฐบาลต้องกระจายอำนาจในการตัดสินใจ
การพิจารณา ร่างกฎหมายอากาศสะอาด กำลังเข้าสู่ช่วงสำคัญในชั้นกรรมาธิการวิสามัญฯ กับการหลอมรวมเนื้อหาจาก 7 ร่าง เพื่อทำให้เนื้อหาที่ออกมาสมบูรณ์ที่สุดและสามารถออกแบบกลไกการทำงานเพื่อติดตามการป้องกันมลพิษทางอากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มลพิษทางอากาศที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม เป็นปัญหาที่สามารถแก้ไขได้ มูลนิธิบูรณะนิเวศ นำบทเรียนความสำเร็วใจการแก้ปัญหามลพิษในภาคอุตสาหกรรม จาก 3 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐประชาชนจีน ที่เป็นตัวอย่างของความพยายามแก้ปัญหาได้จนสำเร็จ
เมื่อรัฐบาล “เศรษฐา ทวีสิน” ยกระดับความสำคัญของการแก้ไขปัญหา ฝุ่น PM 2.5 ด้วยการประกาศให้การแก้ไขมลภาวะทางอากาศเป็น “วาระแห่งชาติ”
มลพิษทางอากาศที่ปล่อยจากภาคอุตสาหกรรม คือ สารที่เกิดจากการใช้เชื้อเพลิง ประกอบไปด้วยก๊าซ ฝุ่นละออง ควันดำ โลหะหนัก สารอินทรีย์ระเหยง่าย และสารไดออกซิน เป็นต้นมูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้รวบรวมข้อมูลอันตรายจากสารพิษเหล่านี้ ในความ เรื่อง “PM 2.5 กับอุตสาหกรรม ตอนที่ 3: สารมลพิษทางอากาศกับผลกระทบแสนอันตราย”
ก่อนที่ประเทศไทยจะตื่นตัวกับปัญหาฝุ่น PM2.5 อย่างทุกวันนี้ ในอดีตเคยมีปัญหามลพิษที่กระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่โรงงานอุตสาหกรรมมาก่อน มูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้นำเสนอ 3 กรณีมลพิษทางอากาศจากภาคอุตสาหกรรม ผ่านบทความ PM 2.5 กับอุตสาหกรรม ตอนที่ 2: กรณีมลพิษอากาศอุตสาหกรรมในตำนาน
ฝุ่น PM2.5 เป็นปัญหาระดับชาติที่ประเทศไทยเผชิญมาอย่างต่อเนื่อง และต้นกำเนิดฝุ่นที่รัฐบาลอาจพูดถึงไม่มากนัก นั่นคือ “อุตสาหกรรม” มูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้สะท้อนผ่านบทความ ตอนที่ 1 “ในม่านมัวของปัญหาฝุ่น PM2.5 มี อุตสาหกรรมซ่อนเร้นอยู่” พร้อมเผยข้อมูล พื้นที่ฝุ่นหนาสอดคล้องกับจำนวนโรงงานอุตสาหกรรม