
รถยนต์ไฟฟ้าป่วนตลาด ระเบิดสงครามราคา
ตลาดรถยนต์ไฟฟ้ากำลังได้รับความนิยมลดลง จากความกังวลสงครามราคาและประสบการณ์ใช้งานรถ ผู้ผลิตรถจำเป็นต้องยกระดับนวัตกรรม เพื่อก้าวข้ามความท้าทายที่เกิดขึ้น

อยากสุขภาพดี แต่ไม่มี “ที่” ทำอย่างไรเมื่อเมืองไม่เอื้อ?
ใจพร้อม กายพร้อม แต่ “เมือง” ไม่พร้อม ! ปัญหาการขาดพื้นที่ให้เคลื่อนไหวกำลังบั่นทอนความเป็นอยู่ของเรา ทั้งจากโรค NCDs หรือภาวะซึมเศร้า ที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น การออกแบบ “ที่” ให้สามารถทำกิจกรรมได้หลายอย่าง คือคำตอบที่จะสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และเปิดโอกาสให้ทุกคนเข้าถึงการมีสุขภาพดีอย่างเท่าเทียม

ส่องนโยบาย ‘สถานชีวาภิบาล’ ผ่านมาแล้ว 2 ปี ก้าวหน้าแค่ไหน
ผ่านมาแล้ว 2 ปี กับนโยบายสถานชีวาภิบาล ความคืบหน้าวันนี้เป็นอย่างไร สถานการณ์การดูแลประคับประคองในไทยก้าวไปสู่จุดไหน ยังมีช่องว่างตรงไหนที่ต้องอุดรอยรั่วเพื่อให้คนไทยเข้าถึงการตายดี

ยอมรับ “อัตลักษณ์” โจทย์สำคัญสู่สันติภาพชายแดนใต้
ความพยายามในการคลี่คลายปัญหา “ชายแดนใต้” ถูกเน้นหนักไปที่เรื่อง “ความมั่นคง” จนอาจกำลังจะละเลยเรื่อง “อัตลักษณ์” ของผู้คน ทั้งที่ความหลากหลายทางวัฒนธรรม เชื้อชาติ และศาสนา เป็นสิ่งที่สวยงาม และเชื่อว่าอาจเป็นหนึ่งในใบเบิกทางที่จะนำไปสู่สันติภาพให้เกิดขึ้นได้จริง

วิกฤตกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หวั่นสมาชิกเงินไม่พอใช้หลังเกษียณ
กลต.เตรียมออกแผนทางเลือก Lifecycle investment ขยายสัดส่วนการลงทุนของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เพื่อเพิ่มเงินออมให้กับสมาชิก หลังมีเงินออมน้อยเฉลี่ย 1-3 ล้านบาท/คน เสี่ยงไม่พอใช้จ่ายตอนเกษียณที่ระดับ 5-10 ล้านบาท

ไทยกระทบจำกัดหลังใช้ GMT ตาม OECD เก็บภาษีบริษัทต่างชาติ 15%
ไทยเริ่มใช้ Global Minimum Tax เก็บภาษีบริษัทข้ามชาติ 15% ตามข้อกำหนดของ OECD แต่กระทบการลงทุนไทยไม่มาก เพราะยังมีปัจจัยอื่นช่วยดึงดูดนักลงทุน แนะรัฐนำเงินภาษีที่ได้ไปลงทุนพัฒนาทักษะแรงงาน

ชาวนาทุกข์ซ้ำซาก “ข้าวราคาตก“ ต้องแก้มากกว่าอัดฉีดเงิน
ข้าวราคาตกต่ำ เป็นปัญหาที่ยากควบคุม เนื่องจากผลิตล้นตลาดและเป็นไปตามกลไกตลาดโลก แต่ผลกระทบกับชาวนาสามารถแก้ไขได้ หากมีมาตรการแก้ปัญหาภาคเกษตรอย่างจริงจัง รัฐบาลต้องจริงจังและมีมาตรการระยะยาวแก้ปัญหาภาคเกษตร ไม่ควรแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเป็นครั้งคราว

แจกเงินหมื่นไม่คุ้มค่า แรงกระตุ้นเศรษฐกิจแผ่ว
รัฐบาลแจกเงิน 10,000 บาท ให้กลุ่มเปราะบางและคนพิการในปลายปี 67 แต่เศรษฐกิจไทยกลับโตแค่ 3% เพราะส่วนใหญ่คนนำเงินไปใช้หนี้ ใช้จ่ายในเศรษฐกิจนอกระบบ และภาวะหนี้ครัวเรือนสูงกดดันการบริโภค จับตาปี 68 เศรษฐกิจไทยเผชิญปัจจัยเสี่ยงหลายด้าน

ชำแหละเป้าหมาย ผลลัพธ์ มาตรการแก้ฝุ่น PM2.5
ปริมาณฝุ่น PM 2.5 ที่รุนแรงขึ้น ทำให้สังคมเริ่มตั้งคำถามถึงมาตรการแก้ปัญหาที่ผ่านมาว่ามาถูกทางหรือมีประสิทธิภาพเพียงพอกับการรับมือสถานการณ์ที่ย่ำแย่ลงทุกวันหรือไม่ รวมทั้งควรจะต้องเร่งปรับปรุงแก้ไขในจุดใดเพื่อทำให้สถานการณ์กลับมาดีขึ้นกว่าที่เป็นอยู่