
ดอกเบี้ยโลกปีงูเล็ก “ขาลง” ดอกเบี้ยไทยรอลุ้นกนง.
ปีงูเล็กมาเยือน พร้อมกับเศรษฐกิจไม่สดใสมากนัก ทำให้นักวิเคราะห์คาดว่าธนาคารกลางประเทศยักษ์ใหญ่ของโลกจะปรับลดดอกเบี้ย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่สำหรับไทยยังไม่ชัดเจน แม้ว่าจะคาดการณ์ว่ามาตรการกระตุ้นต่าง ๆ ของรัฐบาลที่ออกมา อาจจะไม่ช่วยให้เศรษฐกิจขยายตัวได้มากนัก

นโยบายสาธารณะผ่านขาขึ้น แต่ไปไม่ถึงขาเคลื่อน
ในยุคที่การมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะ เป็นความหวังในการแก้โจทย์สังคมได้อย่างตรงจุด แต่ข้อเสนอเชิงนโยบายจากเสียงของประชาชนกลับ “ติดดอย - ติดหล่ม” การใช้นวัตกรรมเชิงนโยบาย วิเคราะห์ข้อมูลและติดตามการทำงานของผู้กำหนดนโยบาย ไปพร้อมกับการหาหน้าต่างนโยบายให้เจอ จะช่วยผลักดันข้อเสนอนโยบายลงจากดอย

เป็นไปได้แค่ไหน? จะใช้ Negative Income Tax
หลังจาก ทักษิณ ชินวัตร ขายไอเดียแก้ปัญหาความยากจนและเหลื่อมล้ำ โดยใช้ภาษีเงินได้แบบติดลบ หรือ Negative Income Tax ก็ได้รับความสนใจจากคนในรัฐบาลและหน่วยงานของรัฐบาล แต่ยังไม่มีความคืบหน้าและยังเป็นประเด็นคำถามว่าหากจะใช้จริงสามารถทำได้แค่ไหน

‘ข้อมูล’ กุญแจสำคัญสู่นโยบายที่ดี
"ข้อมูล" เป็นจุดเริ่มต้นสู่การสร้างนโยบายสาธารณะที่ตอบโจทย์ตรงจุด แต่ในทางปฏิบัติยังมีอุปสรรคและข้อจำกัดที่ต้องแก้ไข ตั้งแต่การจัดเก็บข้อมูลไปจนถึงระดับปฏิบัติ วงเสวนาชวนระดมความคิด ร่วมกันหากลไกให้ทุกภาคส่วนแบ่งปันข้อมูลเพื่อการวิจัยและพัฒนา พร้อมยกระดับการรักษาความปลอดภัย

ไทยเสี่ยงถูกหั่นเครดิต จากภาระหนี้-ระบบเศรษฐกิจ
การก่อหนี้ของรัฐบาลส่งกระทบต่อฐานะการคลังในอนาคต ปัญหาโครงสร้างการเมืองการปกครอง รวมถึงโครงสร้างเศรษฐกิจที่ไม่เอื้อต่อการเติบโตระยะยาว กำลังคุกคามความน่าเชื่อถือของประเทศ SCB EIC มองว่ายังอาจทำให้ไทยถูกปรับลดอันดับความน่าเชื่อถือ และจะส่งผลกระทบหนักหลายด้าน แนะรัฐบาลควรเร่งวางแผนระยะยาว

รัฐบาล “มองสั้น” เน้นประชานิยม สร้างหนี้ระยะยาว
การทำนโยบายที่เน้นประชานิยมเอาใจประชาชน สะท้อนถึงปัญหา "การมองสั้น" ของรัฐบาล และกำลังสร้างปัญหาให้ไทยในอนาคต โดยเฉพาะรายได้รัฐบาลของที่มีแต่ลดลง แต่กลับยังสร้างภาระหนี้เพิ่มมากขึ้น มีความเสี่ยงหนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง

หนี้ครัวเรือน-สังคมสูงวัย ฉุดเศรษฐกิจไทยโตต่ำ
ปัญหาเชิงโครงสร้างของเศรษฐกิจไทยพูดกันมานาน แต่ยังไม่มีรัฐบาลไหนแก้ไขได้ เมื่อเศรษฐกิจชะลอตัว รัฐบาลในแต่ละยุคก็มักจะใช้มาตรการกระตุ้นระยะสั้น แต่จากสถานการณ์หลังโควิด-19 หลายประเทศพื้นตัวเร็ว แต่ไทยยังย่ำแย่ สะท้อนให้เห็นปัญหารุนแรงขึ้นจากปัญหาหนี้ครัวเรือนสูงและสังคมสูงอายุ ฉุดบริโภคในประเทศ

27 ปีลอยตัวค่าเงินบาท โจทย์เศรษฐกิจยิ่งยุ่งยาก
วิกฤตต้มยำกุ้ง นำไปสู่ลอยตัวค่าเงินบาท 2 ก.ค. 2540 แม้ว่าคนไทยจำนวนมากจะลืมไปแล้วถึงวิกฤตครั้งใหญ่ แต่บาดแผลที่เกิดขึ้นยังปรากฏให้เห็นในสังคม ในโอกาสครบรอบ 27 ปี จึงเป็นโอกาสที่จะกลับมาทบทวนบทเรียน แม้ว่าปัญหาและความซับซ้อนของระบบเศรษฐกิจจะเปลี่ยนต่างไปอย่างสิ้นเชิง

ฐานะการคลังเสี่ยงสูง รายจ่ายรัฐเพิ่มจากสังคมสูงอายุ
ประชากรสูงวัยมีเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ก่อนจะเข้าสู่สังคมสูงวัยขั้นสุดยอดในอีก 5 ปีข้างหน้า รัฐบาลต้องเร่งหามาตรการรับมืออย่างจริงจัง เพราะรายได้ภาครัฐกำลังลดลงจากวัยคนทำงานลดลง ขณะที่รายง่ายด้านสวัสดิการที่รัฐจัดหาให้ต้องใช้งบประมาณเพิ่มขึ้นอย่างมาก