ThaiPBS Logo

แท็ก: ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

นโยบายภาคการเมือง

การทูตแบบสมดุล

  • เริ่มนโยบาย
  • วางแผน
  • ตัดสินใจ
  • ดำเนินงาน
  • ประเมินผล

ความสำเร็จของนโยบาย

นโยบายไม่เป็นกลาง
รักษาจุดยืนของการไม่เป็นส่วนหนึ่งของความขัดแย้ง ไม่ได้เป็นนโยบายที่เป็นศัตรู
ความร่วมมือระหว่างประเทศ
ร่วมมือระหว่างประเทศทั้งระบบทวิภาคี (Bilateral) และพหุภาคี (Multilateral)

การทูตเศรษฐกิจเชิงรุก

  • เริ่มนโยบาย
  • วางแผน
  • ตัดสินใจ
  • ดำเนินงาน
  • ประเมินผล

ความสำเร็จของนโยบาย

สนับสนุนความเป็นหลายขั้วอำนาจ
การต่างประเทศของไทยได้รับการวางแผนเอาไว้ว่าจะต้องเป็นการทูตเพื่อประชาชนและเป็นการทูตเชิงรุก.
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
ร่วมมือระหว่างประเทศทั้งระบบทวิภาคี (Bilateral) และพหุภาคี (Multilateral)และเร่งเจรจาข้อตกลงการค้าเสรี (FTA)

บทความ

ระวัง! ควันหลง สงครามการค้าสหรัฐ-จีน

ระวัง! ควันหลง สงครามการค้าสหรัฐ-จีน

สภาพัฒน์ประเมิน 4 แนวทางที่ 'ทรัมป์' ประธานนาธิบดีคนใหม่สหรัฐฯ ใช้เป็นช่องทางขึ้นภาษีสินค้าจีน คาดเริ่มมีผลใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 6 เดือน เผยในอดีตสงครามการค้าหนุนสหรัฐฯนำเข้าสินค้าไทยมากขึ้น แต่ไทยก็นำเข้าสินค้าจีนมากขึ้นเช่นกัน

ไทยเข้าร่วมกลุ่ม BRICS กับความท้าทายระเบียบโลกใหม่

ไทยเข้าร่วมกลุ่ม BRICS กับความท้าทายระเบียบโลกใหม่

BRICS รับไทยเข้าเป็นหนึ่งใน 13 ประเทศพันธมิตร แต่ยังไม่ใช่สมาชิกกลุ่มอย่างเป็นทางการ ในการประชุม BRICS Plus Summit ครั้งที่ 4 ที่รัสเซีย โดยไทยหวังยกระดับความร่วมมือด้านเศรษฐกิจบนเวทีโลก

ไทย-นิวซีแลนด์ หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ สร้างความร่วมมือรอบด้าน

ไทย-นิวซีแลนด์ หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ สร้างความร่วมมือรอบด้าน

ไทยและนิวซีแลนด์ ใกล้ครบรอบ 70 ปี ตั้งเป้ายกระดับความสัมพันธ์สู่หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ ในปี 2569 โดยลงนามสร้างความร่วมมือในด้านกลาโหมและความมั่นคง เศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรม และการท่องเที่ยว

“เอฟทีเอ” ทางรอดส่งออกไทย รับมือกีดกันการค้าโลก

“เอฟทีเอ” ทางรอดส่งออกไทย รับมือกีดกันการค้าโลก

สินค้าไทยกว่า 50% ของมูลค่าการส่งออกรวม ได้รับสิทธิตามข้อตกลงทางการค้าเสรี (FTA) ซึ่งช่วยลดอุปสรรคการค้าระหว่างประเทศ แต่สินค้าอื่น ๆ ที่อยู่นอกข้อตกลงดังกล่าว กำลังมีความเสี่ยงได้รับผลกระทบจากมาตรการกีดกันทางการค้าของ 3 ประเทศใหญ่ของโลก ที่กำลังทวีความรุนแรงมากขึ้น

ไทยเป็นสมาชิก OECD “ไม่ง่าย” ใกล้ความจริงอีก 2 ปี

ไทยเป็นสมาชิก OECD “ไม่ง่าย” ใกล้ความจริงอีก 2 ปี

รัฐบาลยังเผชิญกับการท้าทายหลายด้าน ในเรื่องการปฏิรูปกฎระเบียบในประเทศในหลายประเด็น หลังจากเดินหน้ายื่นหนังสือแสดงเจตจำนงขอเข้าเป็นสมาชิก OECD เมื่อเข้าสู่ความร่วมมือในระยะเวลา 3 ปี พ.ศ. 2566 – 2568

จาก“การทูตเชิงรุก-การทูตเพื่อเศรษฐกิจ”ยุคทักษิณ สู่ “การทูตเศรษฐกิจเชิงรุก”ยุคเศรษฐา

จาก“การทูตเชิงรุก-การทูตเพื่อเศรษฐกิจ”ยุคทักษิณ สู่ “การทูตเศรษฐกิจเชิงรุก”ยุคเศรษฐา

นโยบายต่างประเทศ หรือ “การทูตทักษิณ” ได้รับการยกย่องว่ามีความโดดเด่นมากที่สุดยุคหนึ่งของไทย แม้จะเผชิญกับเสียงวิพากษ์วิจารณ์มากมาย แต่การทูตจากยุคนั้นได้กลายเป็นเครื่องหมายการค้าของพรรคไทยรักไทยในอดีตเรื่อยมากจนถึงยุคหลังกลายมาเป็นพรรคเพื่อไทย

มีอะไรใหม่ใน“การทูตเศรษฐกิจเชิงรุก” กับการกลับมาการทูตยุค”ทักษิณ”

มีอะไรใหม่ใน“การทูตเศรษฐกิจเชิงรุก” กับการกลับมาการทูตยุค”ทักษิณ”

รัฐบาลพรรคเพื่อไทย ปัดฝุ่นไอเดีย "Team Thailand" ซึ่งเป็นนโยบายตั้งแต่สมันนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร วางกรอบนโยบาย “การทูตเศรษฐกิจเชิงรุก” ให้กระทรวงการต่างประเทศ ขับเคลื่อนนโยบายต่างประเทศสู่ยุคใหม่ เป็น “การต่างประเทศที่คนไทยจับต้องได้”

นโยบายต่างประเทศ ความท้าทายในโลกยุคแบ่งขั้ว-เลือกข้าง

นโยบายต่างประเทศ ความท้าทายในโลกยุคแบ่งขั้ว-เลือกข้าง

ในช่วงเวลากว่า 9 ปีภายใต้รัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นโยบายทางด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการดำเนินการทางการทูตของไทยถูกจับจ้องและถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างต่อเนื่อง ทั้งท่าทีต่อวิกฤติในเมียนมา การวางตัวท่ามกลางการแข่งขันในด้านภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitical rivalry) แม้แต่บทบาทของไทยในเวทีอาเซียน