รัฐบาลขยายเวลา โครงการ “คุณสู้ เราช่วย“ ช่วยเหลือลูกหนี้รายย่อยและเอสเอ็มอี จากกำหนดเดิมสิ้นสุด 28 ก.พ. ขยายถึง 30 เม.ย. พร้อมกับดึง Non-bank อัก 2 รายเข้าร่วมโครงการ คือ อิออนธนสินทรัพย์และเมืองไทยแคปปิตอล ขณะที่ผู้ยื่นขอยังไม่ถึงครึ่งจากเป้าหมาย
“ปัญหาหนี้ครัวเรือนไทย” เป็นปัญหาเศรษฐกิจที่พูดถึงกันมาก โดยแง่ของเศรษฐกิจมหภาค วัดจากสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อจีดีพี ดังนั้นในหลายประเทศจึงมีกระบวนการลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนไทยต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ(GDP) หรือ Debt deleveraging ซึ่งแต่ละประเทศมีวิธีการต่างกัน และล่าสุดรัฐบาลพยายามหามาตรการลดหนี้
เครดิตบูโร กางข้อมูลหนุนมาตรการแก้หนี้ของรัฐบาล ระบุหนี้ครัวเรือนรวม 13.6 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อน 0.5% ขณะที่หนี้เสียพุ่งเป็น 1.2 ล้านล้านบาท หรือคิดเป็น 8.8% สินหนี้เสียจากสินเชื่อรถยนต์ บัตรเครดิต ไม่ขยับ แต่หนี้เอสเอ็มอี (SMEs) พุ่ง 20%
มาตรการ "ลดภาระหนี้ของลูกค้ารายย่อยและธุรกิจขนาดเล็ก" หรือ มาตรการกึ่งพักหนี้ สำหรับสินเชื่อบ้าน-รถยนต์-เอสเอ็มอี กำลังเพิ่มความเสี่ยงให้กับประเทศ ไม่ใช่ความเสี่ยงเรื่องเม็ดเงินที่ต้องเข้าไปใช้ในมาตรการ แต่เป็นความเสี่ยงจากการสร้างวัฒนธรรมเบี้ยวหนี้ หรือ Moral Hazard ที่จะส่งผลกระทบระยะยาว
หนี้เสียไทยยังคงเป็นปัญหาที่เรื้อรังต่อเนื่อง แม้จะมีมาตรการปรับโครงสร้างหนี้ของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) แต่ดูเหมือนจะไม่ดีขึ้น ล่าสุดข้อมูลเครดิตบูโร เผยหนี้เสียไตรมาส 1 ปี 2567 ปรับเพิ่มขึ้นทั้งระบบภาคธุรกิจ และบุคคคลธรรมดา