ThaiPBS Logo

แท็ก: พักหนี้เกษตรกร

นโยบายภาคการเมือง

บทความ

ทำอย่างไรก้าวให้พ้น วงจรอุบาทว์ ประชานิยมภาคเกษตร

ทำอย่างไรก้าวให้พ้น วงจรอุบาทว์ ประชานิยมภาคเกษตร

นักวิชาการด้านการเกษตร มองนโยบายพักหนี้เกษตรกรเป็นนโยบายประชานิยม ยิ่งทำให้เป็นหนี้เพิ่ม ไม่ช่วยให้หลุดพ้นความยากจนได้ และยังเป็นกับดักให้คนรอแต่ความช่วยเหลือ แนะรัฐบาลมุ่นเน้นแก้ปัญหาระยะกลาง-ยาว เพิ่มศักยภาพการเกษตรให้สามารถแข่งขันในตลาดโลก หากต้องการหลุดกับดักประเทศรายได้ปานกลาง

รัฐบาลพักหนี้เกษตรกร ระยะ 2-3 ถึงครบวาระปี 70

รัฐบาลพักหนี้เกษตรกร ระยะ 2-3 ถึงครบวาระปี 70

รัฐบาลอนุมัติมาตรการพักหนี้เกษตรกร ระยะที่ 2-3 ทำให้โครงการพักหนี้เกษตรกรผ่านธ.ก.ส. จะมีระยะเวลายาวนานถึงปลายปี 2570 ซึ่งเป็นช่วงที่ครบวาระรัฐบาล หากอยู่จนครบวาระ โดยใช้งบประมาณตั้งแต่โครงการระยะแรกกว่า 3 หมื่นล้านบาท

พักหนี้เกษตรกรระยะที่ 1 ผู้เข้าร่วม 1.85 ล้านคน

พักหนี้เกษตรกรระยะที่ 1 ผู้เข้าร่วม 1.85 ล้านคน

ธ.ก.ส. สรุปนโยบายพักหนี้เกษตรกรระยะแรก มีเกษตรกรขอเข้าร่วม 1.85 ล้านราย จากเกษตรกรผู้มีสิทธิ 2.1 ล้านคน รวมมูลหนี้ 2.6 แสนล้านบาท

แก้หนี้ทั้งระบบ ไม่มีอะไรใหม่

แก้หนี้ทั้งระบบ ไม่มีอะไรใหม่

การประชุมคณะรัฐมนตรี(ครม.) เมื่อวันที่ 19 ธ.ค. 2566 แม้ว่ารัฐบาลจะพยายามรณรงค์ว่าเป็นมาตรการ "แก้หนี้ทั้งระบบ" แต่หากใครที่ติดตามมาตรการแก้ปัญหาของรัฐบาลก่อนหน้านี้ ก็จะพบว่าแทบไม่มีอะไรใหม่ เพราะล้วนแต่เป็นมาตรการเดิม ๆ บางมาตรการเป็นเรื่องที่หน่วยงานรัฐดำเนินการอยู่แล้ว

พักหนี้เกษตรกรแค่ยาชา รัฐต้องเร่งผ่าตัดใหญ่

พักหนี้เกษตรกรแค่ยาชา รัฐต้องเร่งผ่าตัดใหญ่

หากพูดถึงนโยบายที่เหล่าพรรคการเมืองให้ความสำคัญเป็นอันดับต้นๆ คงหนีไม่พ้น “นโยบายช่วยเหลือเกษตรกร” เพราะนโยบายดังกล่าวถือเป็นนโยบายที่มีเกษตรกรเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) กว่า 8,805,275 คน

ผลวิจัยชี้ชัดนโยบายพักหนี้ “ยิ่งพัก หนี้ยิ่งเพิ่ม”

ผลวิจัยชี้ชัดนโยบายพักหนี้ “ยิ่งพัก หนี้ยิ่งเพิ่ม”

“มาตรการพักหนี้เกษตรกร” นับว่าเป็นมาตรการ”การเมือง” ที่ทุกรัฐบาลต้องออกมาเพื่อช่วยเหลือหนี้สินภาคเกษตร แต่ที่ผ่านมามักจะไม่มีการประเมินผลว่าประสบความสำเร็จหรือไม่ และแทบจะไม่มีใครท้วงติงว่าเป็นมาตรการสำเร็จ หรือ ล้มเหลว