ThaiPBS Logo

บทความ

หมวดหมู่ :
ทั้งหมด
หมวดหมู่ :
ทั้งหมด
หน้า 42/48
แก้ไข พ.ร.ก.การประมง 2558  หวังฟื้นฟูอุตสาหกรรม

แก้ไข พ.ร.ก.การประมง 2558 หวังฟื้นฟูอุตสาหกรรม

การประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 30 ม.ค. 2567 เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 พ.ศ. .... ตามนโยบายของรัฐบาล ในการฟื้นฟูการประมงและอุตสาหกรรมการประมง

เศรษฐกิจไทย “ไม่วิกฤติ” ฟื้นตัวหลังโควิด-19 แต่โตต่ำ ตามหลังเพื่อน

เศรษฐกิจไทย “ไม่วิกฤติ” ฟื้นตัวหลังโควิด-19 แต่โตต่ำ ตามหลังเพื่อน

ธปท.ย้ำเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวจากวิกฤติโควิด 19 แล้ว แต่ยังโตต่ำและฟื้นตัวช้ากว่าประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งมิติการขยายตัวและการส่งออกสินค้า ซึ่งเป็นผลจากทั้งปัจจัยเชิงวัฏจักรระยะสั้นและเชิงโครงสร้าง แนะเร่งปรับกติกาภาครัฐ ส่งเสริมการแข่งขันอย่างเป็นธรรม

ดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) ไทยร่วง อับดับที่ 108 โลก

ดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) ไทยร่วง อับดับที่ 108 โลก

ดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) ประจำปี 2566 ประเทศไทย ได้ 35 คะแนน จัดอยู่ในอันดับที่ 108 ของโลก และอยู่อันดับ 4 ในอาเซียน แนะไทยต้องปรับปรุงกระบวนการยุติธรรมให้มีความเป็นอิสระ ปราศจากการแทรกแซง

แรงงานกลับบ้านเกิด เศรษฐกิจชนบทกำลังเปลี่ยน  

แรงงานกลับบ้านเกิด เศรษฐกิจชนบทกำลังเปลี่ยน  

แรงงานย้ายถิ่น หรือ ผู้อพยพจากชนบท กำลังเปลี่ยนไป เพราะจำนวนมากยังตัดสินใจกลับบ้านแทนการตั้งหลักแหล่งถาวรในเมืองที่ไปหางานทำ แต่การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจสังคมในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ทำให้คนต่างจังหวัดกลับบ้านเกิดมากขึ้น

เงินดิจิทัลเอาอย่างไรดี? เมื่อเศรษฐกิจไม่ถึงขั้นวิกฤติ

เงินดิจิทัลเอาอย่างไรดี? เมื่อเศรษฐกิจไม่ถึงขั้นวิกฤติ

นโยบายการแจกเงินดิจืทัลวอลเลต 10,000 บาท กำลังถึงทางตัน จากการตีความคำว่า "วิกฤติเศรษฐกิจ" โดยรัฐบาลยังคงยืนยันว่าเศรษฐกิจไทยขณะนี้วิกฤติ ขณะที่ฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยมองว่า "ยังไม่วิกฤติ" แต่จะใช้เกณฑ์อะไรชี้ขาด

รายได้ผู้สูงอายุวิกฤต คาด 20 ปี ข้างหน้า 91.4% ยังต้องทำงาน

รายได้ผู้สูงอายุวิกฤต คาด 20 ปี ข้างหน้า 91.4% ยังต้องทำงาน

ในปีที่ผ่าน ประเทศไทยเข้าสู่ "สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์" และกำลังจะเข้าสู่สังคมสูงวัยระดับสุดยอด (Super-Aged Society) ในปี 2567 โดยผู้มีอายุเกิน 60 ปี จะมีสัดส่วนราว 28% หรือ 1 ใน 4 ของประชากรทั้งประเทศ

แลนด์บริดจ์กับความสับสน ในนโยบายพัฒนาประเทศ

แลนด์บริดจ์กับความสับสน ในนโยบายพัฒนาประเทศ

แลนด์บริดจ์ ยังคงถกเถียงกันไปอีกนาน ทั้งฝ่ายต้องการผลักดันและฝ่ายคัดค้าน ซึ่งความพยายามผลักดันของรัฐบาล ทำให้เห็นความสับสนในนโยบายการพัฒนาประเทศของหน่วยงานรัฐ เพราะขณะนี้ที่กระทรวงคมนาคมพยายามเร่งดำเนินการ แต่การประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) สัญจรครั้งนี้กลับเดินหน้าผลักดันเป็นศูนย์กลางท่องเที่ยว

บทเรียนจากท่าเรือคลองใหญ่ ความสูญเปล่าจากประเมินผิดพลาด

บทเรียนจากท่าเรือคลองใหญ่ ความสูญเปล่าจากประเมินผิดพลาด

แลนด์บริดจ์ กำลังเผชิญกับคำถามเรื่องการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจว่าคุ้มค่าตามที่สำนักนโยบายและแผนขนส่งและจราจร(สนข.) รายงานผลการศึกษาหรือไม่ เพราะบรรดานักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญด้านการขนส่งทางเรือเห็นว่า "เป็นไปได้ยาก"

เปรียบเทียบผลศึกษาแลนด์บริดจ์ ฉบับ”สศช.-สนข.”

เปรียบเทียบผลศึกษาแลนด์บริดจ์ ฉบับ”สศช.-สนข.”

โครงการแลนด์บริดจ์ ที่รัฐบาลประกาศเดินหน้าโครงการตั้งแต่เริ่มต้นบริหารประเทศ กำลังกลายเป็นประเด็นถกเถียง เนื่องจากโครงการนี้ได้ยุติไปแล้วตั้งแต่สมัยรัฐบาลที่แล้ว เนื่องจากผลการศึกษาระบุว่าไม่มีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ แต่กลับมาผลักดันอีกครั้งในรัฐบาลเพื่อไทย

หน้า 42/48