ThaiPBS Logo

แท็ก: ความเป็นกลางทางคาร์บอน

นโยบายภาคการเมือง

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

  • เริ่มนโยบาย
  • วางแผน
  • ตัดสินใจ
  • ดำเนินงาน
  • ประเมินผล

ความสำเร็จของนโยบาย

ภาคพลังงาน
เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การปรับเปลี่ยนรูปแบบการขนส่ง รวมถึงการเตรียมการยกเลิกผลิตพลังงานโดยใช้เชื้อเพลิงถ่านหิน ภายในปี ค.ศ. 2050 ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในด้านพลังงานได้ร้อยละ 15
ภาคการเกษตร
นำร่องปรับเปลี่ยนวิธีการทำนาแบบปัจจุบันไปสู่การทำนาที่ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ยั่งยืน มีประสิทธิภาพ เพิ่มผลผลิต มุ่งเน้นการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจ BCG เพื่อพัฒนาสังคมแบบองค์รวม โดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง พร้อมทั้งเพิ่มคุณค่าให้กับความหลากหลายทางชีวภาพ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และเศรษฐกิจที่เน้นนวัตกรรม ผ่านการเพิ่มประสิทธิภาพของทรัพยากรหมุนเวียนและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างยั่งยืน

การทูตเศรษฐกิจเชิงรุก

  • เริ่มนโยบาย
  • วางแผน
  • ตัดสินใจ
  • ดำเนินงาน
  • ประเมินผล

ความสำเร็จของนโยบาย

สนับสนุนความเป็นหลายขั้วอำนาจ
การต่างประเทศของไทยได้รับการวางแผนเอาไว้ว่าจะต้องเป็นการทูตเพื่อประชาชนและเป็นการทูตเชิงรุก.
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
ร่วมมือระหว่างประเทศทั้งระบบทวิภาคี (Bilateral) และพหุภาคี (Multilateral)และเร่งเจรจาข้อตกลงการค้าเสรี (FTA)

บทความ

แผน PDP2024 คาดการณ์ใช้ไฟเกินจริง ดันค่าไฟแพง

แผน PDP2024 คาดการณ์ใช้ไฟเกินจริง ดันค่าไฟแพง

แผน PDP 2024 แผนผลิตไฟฟ้าในระยะยาวของไทย ที่จะมีการลงทุนสร้างโรงไฟฟ้าต่าง ๆ ให้เพียงพอต่อความต้องการในอนาคต แต่ ทีดีอาร์ไอ มองว่าแผนนี้คาดการณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงเกินความเป็นจริง เพราะใช้ข้อมูลเก่าคำนวณ ทำให้ต้นทุนสูงขึ้น และกระทบประชาชนต้องแบกรับค่าไฟแพง

โอกาสและทิศทาง พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ ใต้อุ้งมือรัฐบาลเศรษฐา

โอกาสและทิศทาง พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ ใต้อุ้งมือรัฐบาลเศรษฐา

กระแสเรียกร้องให้คุ้มครองสิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์มีเพิ่มมากขึ้น ปัจจุบันมีร่างกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องนี้จากสภาชนเผ่าพื้นเมือง ภาคการเมือง และภาคประชาชน Policy Watch นำบทวิเคราะห์ โดย อภินันท์ ธรรมเสนา ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ที่สะท้อนถึงสถานการณ์ ความท้าทาย และโอกาสของ พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ในปัจจุบัน

พร้อมแค่ไหน รับมือยุคโลกเดือด?

พร้อมแค่ไหน รับมือยุคโลกเดือด?

นโยบายสิ่งแวดล้อมแทบทุกรัฐบาล มักมีความสำคัญในลำดับรองหรือไม่ก็เป็นส่วนหนึ่งของเป้าหมายการฟื้นฟูเศรษฐกิจ แต่ในภาวะที่ทั่วโลกกำลังเข้าสู่ยุค “โลกเดือด” และเกิด “ความแปรปรวน” ยากที่จะคาดการณ์ ดังนั้นจึงถึงเวลาที่ต้องให้ความสำคัญกับเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง