ThaiPBS Logo

แท็ก: พ.ร.บ.อากาศสะอาด

นโยบายภาคการเมือง

พ.ร.บ.บริหารจัดการเพื่ออากาศสะอาด

  • เริ่มนโยบาย
  • วางแผน
  • ตัดสินใจ
  • ดำเนินงาน
  • ประเมินผล

ความสำเร็จของนโยบาย

กฎหมายแก้ปัญหามลพิษทางอากาศ
อยู่ระหว่างการผลักดันกฎหมาย เพื่อบังคับใช้
เสนอผ่านรัฐสภา
มีผู้เสนอร่างกฎหมายหลายฉบับ ทั้งจากรัฐบาลฝ่ายค้านและภาคประชาชน

แก้ไขฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5)

  • เริ่มนโยบาย
  • วางแผน
  • ตัดสินใจ
  • ดำเนินงาน
  • ประเมินผล

ความสำเร็จของนโยบาย

พื้นที่เป้าหมาย
แก้ปัญหา เน้นพื้นที่มีการเผาและไฟป่าเกิดขึ้นซ้ำซาก 50%
ลดการเผา
ลดการเผาไหม้ในพื้นที่เกษตรลงให้ได้ร้อยละ 50 หรือ 3.25 ล้านไร่จากปี 2566 ที่มีพื้นที่เผาไหม้ 66% หรือ 6.5 ล้านไร่ ทั้งใน 10 ป่าอนุรักษ์ และ 10 ป่าสงวนแห่งชาติ ด้วยการทำแนวกันไฟ และแนวกันคน

บทความ

นับถอยหลังร่างพ.ร.บ.อากาศสะอาด คาดประกาศใช้ปี 68

นับถอยหลังร่างพ.ร.บ.อากาศสะอาด คาดประกาศใช้ปี 68

ร่างพระราชบัญญัติบริหารจัดการเพื่ออากาศสะอาด ใกล้ความจริง หลังมีการตั้งกรรมาธิการร่วมในการพิจารณาร่างกฎหมายที่เสนอเข้าสภาฯถึง 7 ฉบับ โดยคณะกรรมาธิการฯกำหนดขั้นตอนการออกกฎหมาย คาดว่าจะประกาศใช้ได้ทันในปี 2568 หากไม่สะดุดในขั้นตอนการพิจารณากฎหมายของรัฐสภา

คนไทยเสี่ยงอายุสั้นจาก PM2.5 พ.ร.บ.อากาศสะอาดคือความหวัง

คนไทยเสี่ยงอายุสั้นจาก PM2.5 พ.ร.บ.อากาศสะอาดคือความหวัง

อายุขัยเฉลี่ยของคนไทยกำลังลดลง จากฝุ่นพิษ PM 2.5 เกินระดับมาตรฐาน เช่นเดียวกับหลายประเทศที่เผชิญปัญหานี้ แต่พ.ร.บ.อากาศสะอาด อาจเป็นความหวังในการแก้ปัญหาสภาพอากาศ หากดูตัวอย่างจากสหรัฐฯและสหราชอาณาจักร ที่มีการผลักดันกฎหมายสะอาดขึ้น จนปริมาณควันพิษลดลงถึง 65%

เทียบร่างกฎหมายอากาศสะอาด 7 ฉบับ

เทียบร่างกฎหมายอากาศสะอาด 7 ฉบับ

สถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 ในพื้นที่ภาคเหนือกำลังวิกฤตในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะจังหวัดเชียงใหม่ที่ติดอันดับ 2 ของเมืองที่มีมลพิษมากที่สุดในโลก จนหลายฝ่ายต้องระดมสรรพกำลังออกมาเร่งแก้ปัญหา ในวันที่ พ.ร.บ.อากาศสะอาด ซึ่งเชื่อว่าจะนำไปสู่การแก้ปัญหาอย่างประสิทธิภาพ กำลังอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของ กมธ. 

หลักการที่ “ต้องมี” ใน พ.ร.บ.อากาศสะอาด

หลักการที่ “ต้องมี” ใน พ.ร.บ.อากาศสะอาด

วิเคราะห์มุมนักเศรษฐศาสตร์ ถึงสาระและหลักการสำคัญที่จำเป็นต้องมีใน ร่าง พ.ร.บ.บริหารจัดการเพื่ออากาศสะอาด พ.ศ. .... ที่ประชาชนจะได้ใช้ ภายหลัง 7 ร่าง ผ่านรัฐสภาเข้าสู่การพิจารณาอย่างเข้มข้นของคณะกรรมาธิการ เพื่อเป้าหมายลดการก่อมลพิษ แก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

พ.ร.บ.อากาศสะอาด ใบเบิกทางจัดการปัญหาฝุ่นพิษยั่งยืน

พ.ร.บ.อากาศสะอาด ใบเบิกทางจัดการปัญหาฝุ่นพิษยั่งยืน

เมื่อรัฐบาล “เศรษฐา ทวีสิน” ยกระดับความสำคัญของการแก้ไขปัญหา ฝุ่น PM 2.5 ด้วยการประกาศให้การแก้ไขมลภาวะทางอากาศเป็น “วาระแห่งชาติ”

ชวนรู้จักสารพัดสารพิษภาคอุตสาหกรรมที่คร่าชีวิตผู้คน

ชวนรู้จักสารพัดสารพิษภาคอุตสาหกรรมที่คร่าชีวิตผู้คน

มลพิษทางอากาศที่ปล่อยจากภาคอุตสาหกรรม คือ สารที่เกิดจากการใช้เชื้อเพลิง ประกอบไปด้วยก๊าซ ฝุ่นละออง ควันดำ โลหะหนัก สารอินทรีย์ระเหยง่าย และสารไดออกซิน เป็นต้นมูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้รวบรวมข้อมูลอันตรายจากสารพิษเหล่านี้ ในความ เรื่อง “PM 2.5 กับอุตสาหกรรม ตอนที่ 3: สารมลพิษทางอากาศกับผลกระทบแสนอันตราย”

ย้อนรอยบทเรียนมลพิษโรงไฟฟ้า-นิคมอุตสาหกรรม

ย้อนรอยบทเรียนมลพิษโรงไฟฟ้า-นิคมอุตสาหกรรม

ก่อนที่ประเทศไทยจะตื่นตัวกับปัญหาฝุ่น PM2.5 อย่างทุกวันนี้ ในอดีตเคยมีปัญหามลพิษที่กระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่โรงงานอุตสาหกรรมมาก่อน มูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้นำเสนอ 3 กรณีมลพิษทางอากาศจากภาคอุตสาหกรรม ผ่านบทความ PM 2.5 กับอุตสาหกรรม ตอนที่ 2: กรณีมลพิษอากาศอุตสาหกรรมในตำนาน

ภาคอุตสาหกรรม อีกต้นต่อสำคัญสร้างฝุ่น PM2.5

ภาคอุตสาหกรรม อีกต้นต่อสำคัญสร้างฝุ่น PM2.5

ฝุ่น PM2.5 เป็นปัญหาระดับชาติที่ประเทศไทยเผชิญมาอย่างต่อเนื่อง และต้นกำเนิดฝุ่นที่รัฐบาลอาจพูดถึงไม่มากนัก นั่นคือ “อุตสาหกรรม” มูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้สะท้อนผ่านบทความ ตอนที่ 1 “ในม่านมัวของปัญหาฝุ่น PM2.5 มี อุตสาหกรรมซ่อนเร้นอยู่” พร้อมเผยข้อมูล พื้นที่ฝุ่นหนาสอดคล้องกับจำนวนโรงงานอุตสาหกรรม