ธีรวัฒน์ หวังธิติธีรกุล
ไทยเสี่ยงเผชิญ “ภัยแล้งสลับน้ำท่วม”รุนแรง ฉุดเศรษฐกิจประเทศ
ไทยเสี่ยงเจอภัยแล้งสลับกับน้ำท่วมฉับพลันที่รุนแรงมากขึ้นในแต่ละปี เนื่องจากวิกฤตสภาพอากาศสุดขั้ว นักวิจัยวิจัยเศรษฐกิจป๋วยฯ ชี้จะกระทบเศรษฐกิจไทยในทุกภาคส่วนตั้งแต่รากหญ้าไปจนถึงระดับบน เตือนทุกฝ่ายร่วมกันลดปล่อยก๊าศเรือนกระจก และปรับตัวเพื่อรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ธุรกิจไทยต้องเร่งปรับตัว เดินหน้าสู่เป้าหมาย Net Zero
ธปท.ชี้ไทยต้องเริ่มปรับตัวภาคธุรกิจให้ลดก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ ป้องกันตกขบวนการค้าโลก พร้อมให้สถาบันการเงินพัฒนาผลิตภัณฑ์สินเชื่อสีเขียวให้ครอบคลุมธุรกิจ SMEs ที่ถือเป็นกระดูกสันหลังของเศรษฐกิจ
ระบบคลาวด์ภาครัฐ กับความท้าทายสู่รัฐบาลดิจิทัล
ทีดีอาร์ไอ และ สดช. พบว่าหน่วยงานรัฐไทยมีแนวโน้มต้องการใช้ระบบคลาวด์มากขึ้นในอนาคต โดยเตรียมนำผลศึกษาแนวทางจัดทำระบบคลาวด์ภาครัฐเสนอต่อรัฐบาลที่กำลังเดินหน้าผลักดันให้ไทยเป็นรัฐบาลดิจิทัลผ่านนโยบาย Cloud First ในเวลาอันใกล้นี้
หนี้ครัวเรือนลด “ทางเทคนิค” ต่ำกว่า 91% จากจีดีพีโต
หนี้ครัวเรือนในไตรมาสแรกปีนี้จะปรับลดลงเล็กน้อยจากระดับ 91% เพราะจีดีพีขยายตัว แต่ปัญหายังคงอยู่ เพราะหากระดับที่ทำให้เศรษฐกิจยั่งยืนแล้ว สัดส่วนหนี้ครัวเรือนจะต้องไม่เกินระดับ 80% ของจีดีพี
เสถียรภาพการเมือง ฉุดค่าแรง 400 บาท
การขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาททั่วประเทศของรัฐบาลอาจทำได้ไม่ง่าย เพราะมีเสียงคัดค้านอย่างหนักจากภาคเอกชน สะท้อนถึงปัญหาในด้านเสถียรภาพทางการเมือง ขาดความเชื่อมั่นจากประชาชน
ค่าจ้างขั้นต่ำ 400 บาท : กระทบใคร-กระทบอย่างไร
นักเศรษฐศาสตร์แนะเพิ่มทักษะ แก้ปัญหารายได้แรงงาน
นโยบายขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาท ช่วยเพิ่มรายได้ลูกจ้างและลดความเหลื่อมล้ำ แม้ฟังดูดี แต่นักเศรษฐศาสตร์มองจากบทเรียนที่ผ่านมา ไม่ได้เพิ่มรายได้อย่างยั่งยืน แต่เป็นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า แนะในระยะยาวต้องพัฒนาทักษะแรงงาน เพื่อดึงดูดงานที่มีมูลค่าสูงและเงินเดือนที่สูง
มุมมองทีดีอาร์ไอ ขึ้นราคาดีเซลขั้นบันไดเหมาะสม ไม่กระทบประชาชนมาก
บอร์ดกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง มีมติขึ้นราคาดีเซล 50 สต./ลิตร หลังหมดมาตรการลดภาษี เตรียมจ่อขึ้นแบบขั้นบันได เหตุกองทุนแบกหนี้จำนวนมาก นักวิชาการทีดีอาร์ไอเห็นด้วย เชื่อไม่กระทบภาระประชาชนมากนัก ชี้กองทุนฯยิ่งก่อหนี้มากก็ยิ่งเป็นภาระคนไทยในอนาคต พร้อมแนะ 3 ข้อแผนบริหารราคาน้ำมันในระยะยาว
หาหลักธรรมาภิบาลใน “สามก๊ก” เพื่อตอบโจทย์ยุคสมัย
“สามก๊ก” พงศาวดารชื่อดัง อยู่คู่สังคมไทยมานาน ที่มีคนกล่าวถึงทุกยุคทุกสมัย และตีความต่าง ๆ กัน กล่าวขานเรื่องที่เต็มไปด้วยเรื่องกลยุทธ์เล่เหลี่ยมต่าง ๆ ในการศึกสงคราม และช่วงชิงอำนาจทางการเมือง แต่วันนี่้ มีการอ่าน "สามก๊ก" อีกมุม โดยเสาะหา "หลักธรรมาภิบาล" ในยุคที่สังคมไทยมีปัญหารุนแรง