ThaiPBS Logo

คอลัมนิสต์

หมวดหมู่ :
ทั้งหมด
หมวดหมู่ :
ทั้งหมด
หน้า 2/3
อบจ. ในกระแสการกระจายอำนาจ

อบจ. ในกระแสการกระจายอำนาจ

การเลือกตั้ง อบจ. ที่หลายคนพุ่งเป้าไปที่เกมการเมืองระหว่างผู้ลงสมัคร แต่การเลือกตั้ง อบจ. มีมากกว่านั้น เพราะเป็นเรื่องการกระจายอำนาจการเงินการคลังสู่ท้องถิ่น รวมถึงอำนาจการบริหารจัดการในพื้นที่ ที่นับเป็นความท้าทายที่สำคัญ

นโยบายที่ประชาชนมีส่วนร่วม ลดโอกาสทุจริต

นโยบายที่ประชาชนมีส่วนร่วม ลดโอกาสทุจริต

การมีนโยบายที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลางและมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน สามารถเสริมสร้างความโปร่งใสและลดโอกาสในการเกิดการทุจริต โดยการเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนของกระบวนการนโยบายตั้งแต่การออกแบบไปจนถึงการตรวจสอบ จะช่วยสร้างความโปร่งใสและลดโอกาสการทุจริตเชิงนโยบายได้อย่างยั่งยืน

ความร่วมมือต่อต้านคอร์รัปชันระดับภูมิภาคผ่าน ASEAN – PAC

ความร่วมมือต่อต้านคอร์รัปชันระดับภูมิภาคผ่าน ASEAN – PAC

ปัญหาคอร์รัปชันกลายเป็นปัญาระดับโลกที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อระบบเศรษฐกิจและการลงทุนระหว่างประเทศ การรวมตัวกันของหน่วยงานต่อต้านคอร์รัปชันผ่าน ASEAN-PAC มีเป้าหมายเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือในการป้องกันและปราบปรามทุจริต

พลวัต ‘อภิบาล’ สู่เป้าหมาย ‘ความยั่งยืนอย่างเป็นธรรม’

พลวัต ‘อภิบาล’ สู่เป้าหมาย ‘ความยั่งยืนอย่างเป็นธรรม’

ธรรมาภิบาล เป็นแนวคิดสำคัญในการบริหารจัดการที่ต้องเน้นความโปร่งใส ความเป็นธรรม และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนและลดการทุจริต แต่ในประเทศไทยการนำนโยบายธรรมาภิบาลไปใช้กลับถูกจำกัดให้อยู่ในกรอบของระบบราชการและข้าราชการเป็นศูนย์กลางของอำนาจ

นโยบายการต่อต้านคอร์รัปชันผ่านหลักธรรมาภิบาล

นโยบายการต่อต้านคอร์รัปชันผ่านหลักธรรมาภิบาล

การนำหลักธรรมาภิบาลมาปรับใช้ในแต่ละภาคส่วน นับเป็นอีกกลไกสำคัญในการเพื่อลดปัญหาทุจริตคอร์รัปชัน การที่จะทำให้เกิดผลลัพธ์อย่างเป็นรูปธรรมจำเป็นต้อง ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาคส่วนต่างๆ ในการขับเคลื่อนงานด้านธรรมาภิบาลและต่อต้านคอร์รัปชันให้เกิดขึ้น ​

การต่อสู้กับคอร์รัปชันในภาคเอกชน

การต่อสู้กับคอร์รัปชันในภาคเอกชน

วงจรคอร์รัปชัน ไม่ได้เกิดขึ้นเพียงในภาครัฐแต่เกี่ยวข้องกับทุกภาคส่วนในสังคม โดยเฉพาะภาคเอกชนซึ่งเป็นตัวแปรสำคัญที่มีส่วนเกี่ยวข้องในทุกมิติตั้งแต่สถานการณ์ ปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแก้ไขคอร์รัปชันจึงยึดโยงกับเอกชนและส่งต่อผลกระทบไปยังระบบเศรษฐกิจของสังคมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

VAT กับความเหลื่อมล้ำ: เมื่อ VAT ยังไม่ใช่ทางเลือกที่เหมาะสม (ที่สุด) ในการลดความเหลื่อมล้ำ

VAT กับความเหลื่อมล้ำ: เมื่อ VAT ยังไม่ใช่ทางเลือกที่เหมาะสม (ที่สุด) ในการลดความเหลื่อมล้ำ

แนวคิดการปฏิรูปภาษีของนายพิชัย ชุณหวชิร ที่กล่าวในเวที Sustainability Forum 2025 เมื่อ 3 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมา นำไปสู่การถกเถียงในวงกว้างถึงผลกระทบของการปฏิรูปภาษี นอกเหนือจากเรื่องการจัดเก็บรายได้ของภาครัฐแล้ว “ความเหลื่อมล้ำ” เป็นอีกหนึ่งประเด็นที่ได้รับการพูดถึง

ความร่วมมือระดับนานาชาติและภูมิภาคในการต่อต้านคอร์รัปชัน

ความร่วมมือระดับนานาชาติและภูมิภาคในการต่อต้านคอร์รัปชัน

การทุจริตคอร์รัปชันในปัจจุบันมีความซับซ้อนและส่งผลกระทบเสียหายรุนแรง แนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพจำเป็นต้องอาศัยการการส่วนร่วมของทุกประเทศทั่วโลก ทั้งองค์กรระหว่างประเทศ และประชาชนทั้งในระดับนานาชาติ และในประเทศ

ความจริงและ ความหวังในการต่อต้าน ‘คอร์รัปชันเชิงนโยบาย’ ของไทย

ความจริงและ ความหวังในการต่อต้าน ‘คอร์รัปชันเชิงนโยบาย’ ของไทย

การคอร์รัปชันเชิงนโยบาย (Policy Corruption) ส่งผลเสียหายถึงปีละ 2.6 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐทั่วโลก และเป็นอุปสรรคต่อการจัดสรรทรัพยากรและการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยที่ผ่านมาในส่วนของประเทศไทยยังไม่เห็นมาตรการแก้ปัญหาที่เข้าใจกระบวนการแก้ไขเชิงระบบที่ซับซ้อน

หน้า 2/3