ThaiPBS Logo

คอลัมนิสต์

หมวดหมู่ :
ทั้งหมด
หมวดหมู่ :
ทั้งหมด
หน้า 1/3
วิกฤตซับซ้อนจากแผ่นดินไหว-อาคารถล่ม: บทบาทสำคัญของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

วิกฤตซับซ้อนจากแผ่นดินไหว-อาคารถล่ม: บทบาทสำคัญของพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

บ่ายวันที่ 28 มีนาคม 2568 – วันศุกร์สิ้นเดือนที่คนไทยต้องเผชิญกับภัยพิบัติครั้งใหญ่ที่สุดอีกครั้งในรอบหลายปี เหตุจากประเทศไทยเผชิญผลจากแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว ขนาด 8.2 ความลึก 10 กิโลเมตร โดยมีศูนย์กลางอยู่ในประเทศเมียนมา และแรงสะเทือนถึงประเทศไทยหลายพื้นที่รวม 63 จังหวัด

ยกเลิกเกณฑ์ทหาร  บนเส้นทางที่ยาวไกล

ยกเลิกเกณฑ์ทหาร บนเส้นทางที่ยาวไกล

ฤดูกาลเกณฑ์ทหารเวียนมาอีกครั้งในช่วงเดือนเม.ย. ของทุกปี แต่นโยบายเปลี่ยนการบังคับเกณฑ์ทหารเป็นสมัครใจของรัฐบาล ยังดำเนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไป ตามแผนการปฏิรูปกองทัพของกระทรวงกลาโหม ที่คาดว่าจะยกเลิกระบบการเกณฑ์ทหารได้ในปี 71

สตง. กับการตรวจสอบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

สตง. กับการตรวจสอบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ในช่วงเวลากว่าสองสัปดาห์ที่ผ่านมา สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ตกเป็นที่กล่าวถึงและวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง จากเหตุการณ์ตึกถล่มอันเนื่องมาจากแผ่นดินไหวเมื่อ 28 มี.ค. 68 ซึ่งนำไปสู่คำถามเกี่ยวกับบทบาทและการปฏิบัติหน้าที่ของ สตง.

ดับไฟใต้: JCPP มีอะไรที่น่ากลัว?

ดับไฟใต้: JCPP มีอะไรที่น่ากลัว?

ในช่วงกว่าหนึ่งปีที่ผ่านมานับตั้งแต่ “แผนปฎิบัติการร่วมเพื่อสันติสุขแบบองค์รวม” (Joint Comprehensive Plan towards Peace, JCPP) ได้ถูกเปิดเผยในหน้าสื่อ ก็เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์ถึงแนวทางการพูดคุยฯภายใต้กรอบ JCPP

ดัชนีรับรู้การทุจริตที่มากกว่าตัวเลข

ดัชนีรับรู้การทุจริตที่มากกว่าตัวเลข

'ปุรวิชญ์ วัฒนสุข' จะพาผู้อ่านทำความเข้าใจดัชนีรับรู้การทุจริตในมิติที่ลึกขึ้น นอกเหนือจากตัวเลขที่ปรากฏในรายงานข่าว โดยจะอภิปรายผ่านงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา

ปัญหาการใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือต่อรอง กับความเสี่ยงของการถอยกลับ

ปัญหาการใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือต่อรอง กับความเสี่ยงของการถอยกลับ

เมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ผู้เขียนได้มีโอกาสพูดคุยกับศาสตราจารย์ชาวสวีเดนที่คว่ำหวอดเรื่องการวิจัยเกี่ยวกับความขัดแย้งและสันติภาพมายาวนานท่านหนึ่ง เขาตั้งข้อสังเกตว่าทำไมสังคมไทยจึงไม่ค่อยให้ความสำคัญกับกระบวนการสันติภาพในภาคใต้ที่นับได้ว่ามีความก้าวหน้าที่สำคัญ

การพูดคุยสันติภาพในภาคใต้: ความเสี่ยงของการถอยกลับ (1)

การพูดคุยสันติภาพในภาคใต้: ความเสี่ยงของการถอยกลับ (1)

กว่าครึ่งปีหลังนางสาวแพทองธาร ชินวัตรขึ้นมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐบาลยังคงแสวงหา “ยุทธศาสตร์ใหม่” ในการดับไฟใต้ ท่ามกลางคำถามว่ายุทธศาสตร์ที่ใช้มาถูกทางหรือไม่ ทำไมมีการพูดคุยสันติภาพแล้ว ความรุนแรงยังคงดำเนินอยู่

อีสานและความยากจน ที่พวกเราบ่นเพราะอยากให้มีคนได้ยิน

อีสานและความยากจน ที่พวกเราบ่นเพราะอยากให้มีคนได้ยิน

ภูมิภาคอีสานได้รับงบประมาณในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง แต่ความยากจนก็ยังคงแพร่หลายในกลุ่มประชากร โดยเฉพาะเกษตรกร แม้ว่ารัฐบาลจะมีนโยบายแก้ปัญหาแต่ก็ยังมีคำถามว่าช่วยลดความยากจนได้จริงหรือไม่ นำมาสู่ข้อเสนอเรื่องการลดช่องว่างในการคอร์รัปชันงบประมาณที่จะเป็นกุญแจสำคัญช่วยลดความเหลื่อมล้ำและยากจน

สร้างเมืองที่โอบรับสุขภาพจิตได้ ก่อนจะสายเกินไป

สร้างเมืองที่โอบรับสุขภาพจิตได้ ก่อนจะสายเกินไป

ปัญหาเรื่องสุขภาพจิต ไม่ได้ส่งผลเสียเฉพาะตัวบุคคลแต่ยังกระทบไปถึงสังคมในวงกว้าง และเชื่อมโยงต่อเนื่องไปถึงมิติทุจริต คอร์รัปชัน โจทย์ใหญ่ของประเทศไทยคือ เราจะสร้างเมืองอย่างไรให้พร้อมโอบรับประชาชน เพื่อลดการเกิดปัญหาสุขภาพจิตของทุกช่วงวัยในอนาคตได้

หน้า 1/3