โครงสร้างการลงทุนต่างชาติในไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปในช่วง 24 ปีที่ผ่านมา เม็ดเงินลงทุนจากจีนเพิ่มเป็นอันดับหนึ่ง ในขณะที่จากญี่ปุ่นลดลงเรื่อย ๆ แต่กิจการลงทุนเริ่มเปลี่ยนจากภาคอุตสาหกรรมมาเป็นภาคบริการ สะท้อนเศรษฐกิจไทยกำลังเปลี่ยนไปสู่ภาคบริการมากขึ้น
ทิศทางดอกเบี้ยขาลงทั่วโลก รับสงครามการค้า ฉุดเศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย หลังกนง.ลดดอกเบี้ยเหลือ 1.75% รับมือผลกระทบสงครามการคัาที่รุนแรง หลายสำนักวิจัยเอกชนคาดอาจลดอีก 1-2 ครั้งในปีนี้ จากความเสี่ยงเศรษฐกิจไทยจะถดถอยมากขึ้นในช่วงครึ่งปีหลัง
ประธานาธิบดีทรัมป์ ประกาศเลื่อนภาษีตอบโต้ เปิดโต๊ะเจรา 90 วัน SCB EIC ประเมินลดผลกระทบไทยแค่ระยะสั้น แต่ไม่ช่วยรอดพ้นวิกฤตจากระบบการค้าโลกยุคใหม่ที่กำลังเข้าสู่ช่วงเวลาแห่งความปั่นป่วน คาดกระทบส่งออกไทย 8.1 แสนล้านบาท หากถูกตั้งภาษี 36%
BRICS รับไทยเข้าเป็นประเทศหุ้นส่วนของกลุ่ม อย่างเป็นทางการตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 68 เป็นต้นไป โดยไทยหวังเพิ่มโอกาสทางการค้ากับประเทศตลาดเกิดใหม่และประเทศกำลังพัฒนาที่มีศักยภาพสูง
ภาคส่งออกที่เป็นเครื่องยนต์ขับเคลื่อนหลักของเศรษฐกิจไทย จะเจอความเสี่ยงอย่างหนักในปี 68 หลังสหรัฐฯเตรียมขึ้นภาษีนำเข้าเปิดสงความการค้ารอบใหม่
เลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ 5 พ.ย.นี้ จะกระทบอาเซียนและไทยอย่างไร เมื่อนโยบายของทรัมป์อาจดันให้เงินเฟ้อพุ่งสูงขึ้น ด้านนโยบายของแฮร์ริสกลับเน้นเป้าหมายชัดเจนกว่า แต่ไม่ว่าใครจะชนะ ก็ต้องเผชิญกับปัญหาหนี้สินเรื้อรังของสหรัฐฯ
ผู้ประกอบการไทยกำลังเจอปัญหาสินค้าจีนราคาถูกที่เข้ามาครองตลาดอย่างหนัก จนแทบจะแข่งขันไม่ได้ และอาจสร้างผลเสียต่อเศรษฐกิจประเทศในอนาคต โดยในต่างประเทศก็ได้รับผลกระทบนี้เช่นกัน และก็มีมาตรการต่าง ๆ ออกมารับมือสินค้าจีน เพื่อปกป้องผู้ประกอบการในประเทศของตนเอง
สหรัฐฯ กำลังเพิ่มบทบาทในลุ่มน้ำโขงมากขึ้น จากการขอปรับปรุงร่างแผนดําเนินการหุ้นส่วนลุ่มน้ำโขง-สหรัฐฯ ค.ศ. 2024 -2026 ในการประชุมรัฐมนตรีหุ้นส่วนลุ่มน้ำโขง-สหรัฐฯ ครั้งที่ 3 และจะเป็นประธานร่วมกับไทยในปี 2568
ตลอด 10 ปีที่ผ่านมา สินค้าจีนได้เข้ามามีอิทธิพลในอาเซียน เนื่องจากต้นทุนต่ำและราคาถูก ส่งผลให้หลายประเทศในกลุ่มอาเซียนรวมถึงไทยมีสัดส่วนนำเข้าสินค้าจีนที่สูงขึ้น ซึ่งในระยะยาวอาจทำให้ผู้ประกอบการในประเทศแข่งขันในตลาดได้ยาก หากไม่รีบปรับตัวเพื่อรับมือกับสถานการณ์นี้
มลพิษทางอากาศที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม เป็นปัญหาที่สามารถแก้ไขได้ มูลนิธิบูรณะนิเวศ นำบทเรียนความสำเร็วใจการแก้ปัญหามลพิษในภาคอุตสาหกรรม จาก 3 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐประชาชนจีน ที่เป็นตัวอย่างของความพยายามแก้ปัญหาได้จนสำเร็จ
มลพิษทางอากาศที่ปล่อยจากภาคอุตสาหกรรม คือ สารที่เกิดจากการใช้เชื้อเพลิง ประกอบไปด้วยก๊าซ ฝุ่นละออง ควันดำ โลหะหนัก สารอินทรีย์ระเหยง่าย และสารไดออกซิน เป็นต้นมูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้รวบรวมข้อมูลอันตรายจากสารพิษเหล่านี้ ในความ เรื่อง “PM 2.5 กับอุตสาหกรรม ตอนที่ 3: สารมลพิษทางอากาศกับผลกระทบแสนอันตราย”