ThaiPBS Logo

แท็ก: ปรับโครงสร้างหนี้

นโยบายภาคการเมือง

บทความ

แก้หนี้ครัวเรือนอย่างยั่งยืน ต้องใช้นโยบายเพิ่มรายได้

แก้หนี้ครัวเรือนอย่างยั่งยืน ต้องใช้นโยบายเพิ่มรายได้

“ปัญหาหนี้ครัวเรือนไทย” เป็นปัญหาเศรษฐกิจที่พูดถึงกันมาก โดยแง่ของเศรษฐกิจมหภาค วัดจากสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อจีดีพี ดังนั้นในหลายประเทศจึงมีกระบวนการลดสัดส่วนหนี้ครัวเรือนไทยต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ(GDP) หรือ  Debt deleveraging ซึ่งแต่ละประเทศมีวิธีการต่างกัน และล่าสุดรัฐบาลพยายามหามาตรการลดหนี้

SMEs เผชิญวิกฤติหนี้ เอ็นพีแอลพุ่ง 20%

SMEs เผชิญวิกฤติหนี้ เอ็นพีแอลพุ่ง 20%

เครดิตบูโร กางข้อมูลหนุนมาตรการแก้หนี้ของรัฐบาล ระบุหนี้ครัวเรือนรวม 13.6 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อน 0.5% ขณะที่หนี้เสียพุ่งเป็น 1.2 ล้านล้านบาท หรือคิดเป็น 8.8% สินหนี้เสียจากสินเชื่อรถยนต์ บัตรเครดิต ไม่ขยับ แต่หนี้เอสเอ็มอี (SMEs) พุ่ง 20%

มาตรการอุ้มลูกหนี้รายย่อย สร้างภาระมากกว่าตัวเงิน

มาตรการอุ้มลูกหนี้รายย่อย สร้างภาระมากกว่าตัวเงิน

มาตรการ "ลดภาระหนี้ของลูกค้ารายย่อยและธุรกิจขนาดเล็ก" หรือ มาตรการกึ่งพักหนี้ สำหรับสินเชื่อบ้าน-รถยนต์-เอสเอ็มอี กำลังเพิ่มความเสี่ยงให้กับประเทศ ไม่ใช่ความเสี่ยงเรื่องเม็ดเงินที่ต้องเข้าไปใช้ในมาตรการ แต่เป็นความเสี่ยงจากการสร้างวัฒนธรรมเบี้ยวหนี้ หรือ Moral Hazard ที่จะส่งผลกระทบระยะยาว

พักดอกเบี้ยรายย่อย ช่วยลูกหนี้ “บ้าน-รถ-เอสเอ็มอี”

พักดอกเบี้ยรายย่อย ช่วยลูกหนี้ “บ้าน-รถ-เอสเอ็มอี”

ลูกหนี้รายย่อยเฮ! สมาคมธนาคารจับมือภาครัฐ ออกมาตรการช่วยเหลือลูกหนี้ด้วยการปรับโครงสร้างหนี้ สำหรับลูกหนี้รายย่อย สินเชื่อบ้าน รถยนต์ และเอสเอ็มอีขนาดเล็ก ที่มีปัญหาชำระหนี้ หากร่วมมาตรการตามเงื่อนไขจะยกเว้นดอกเบี้ย