น้ำท่วม ไฟป่า ฝุ่นควัน... ปัญหาเดิม ๆ ที่วนเวียนมาไม่จบไม่สิ้นในทุกปี! สะท้อนถึงปัญหาการจัดการภัยพิบัติในรูปแบบเดิมไม่สามารถรับมือได้อีกต่อไป ถึงเวลาแล้วที่เราจะใช้ "ข้อมูล" ที่มีอยู่มาออกแบบนวัตกรรมการรับมือภัยพิบัติ ฟื้นคืนชีวิต จิตใจ และเศรษฐกิจของคนไทย
ในปี 67 มั่วโลกยังปล่อยก๊าซ CO2 สู่ชั้นบรรยากาศเพิ่มขึ้น แม้จะเผชิญกับสถานการณ์อุณหภูมิโลกสูงขึ้น และมีความพยายามจากหลายประเทศในการลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก แต่การปล่อย CO2 ทั่วโลกยังคงเพิ่มขึ้น ยังเป็นเรื่องท้าทาย Net Zero
ปัญหาฝุ่น PM 2.5 ที่มาทุกปี เป็นเรื่องที่แก้ไขยาก แม้รัฐบาลมีแนวทางที่จะดำเนินการผ่านหลายหน่วยงาน แต่ดูเหมือนยังขาดความจริงจัง ตั้งแต่กลไกการทำงานจนถึงการจัดสรรงบประมาณ ทำให้แก้ปัญหาล้มเหลว ขณะที่ตัวแทนท้องถิ่นชี้รัฐบาลต้องกระจายอำนาจในการตัดสินใจ
ทีดีอาร์ไอ เสนอ 6 แนวทางแก้ไข ฝุ่น PM2.5 ทั้งในกรุงเทพฯและพื้นที่ชนบท ระบุต้องมีการตั้งกรรมการระดับชาติ เพื่อมาดูแลโดยเฉพาะ รวมทั้งต้องเร่งผลักดันกฎหมาย การบริการจัดการงบประมาณ และมีนโยบายที่ชัด ร่วมมือกับเพื่อนบ้าน
คณะกรรมการกระจายให้ท้องถิ่นฯ ออกประกาศให้องค์กรท้องถิ่นสนับสนุนและช่วยเหลือกรมอุทยานฯ ป้องกันและควบคุมไฟป่า นำร่องในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ และให้ช่วยแก้ปัญหาสัตว์ป่าที่ก่อให้เกิดผลกระทบ
ผลกระทบเอลนีโญรุนแรง คาดผลกระทบไทยแล้งหนัก ภัยแล้งต่อเนื่องถึงปี 2567 ขณะที่ปริมาณน้ำใช้การได้จริงทั่วประเทศ น้อยกว่าปีที่แล้งที่สุด
นโยบายสิ่งแวดล้อมแทบทุกรัฐบาล มักมีความสำคัญในลำดับรองหรือไม่ก็เป็นส่วนหนึ่งของเป้าหมายการฟื้นฟูเศรษฐกิจ แต่ในภาวะที่ทั่วโลกกำลังเข้าสู่ยุค “โลกเดือด” และเกิด “ความแปรปรวน” ยากที่จะคาดการณ์ ดังนั้นจึงถึงเวลาที่ต้องให้ความสำคัญกับเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง