
ถอดรหัส แก้หนี้ครัวเรือนให้ยั่งยืนจากโครงการ “คุณสู้ เราช่วย”
โครงการ "คุณสู้ เราช่วย" เป็นอีกมาตรการเยียวยาความเดือดร้อนชาวบ้านในยุคเศรษฐกิจตกต่ำ ท่ามกลางเสียงสะท้อนปนความสงสัยว่า แก้ปัญหาได้อย่างถูกจุด มีประสิทธิภาพและยั่งยืนแค่ไหน

คนไทย 24 ล้านคนเสี่ยงจน?: โจทย์ใหญ่รัฐบาลลดความยากจนหลายมิติ
จากรายงานภาวะสังคมไตรมาสที่ 4/2567 ของสำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พบว่า ไทยสามารถลดสัดส่วนคนจนหลายมิติ จากร้อยละ 20.08 ในปี พ.ศ. 2558 เหลือร้อยละ 8.76 ในปี พ.ศ. 2566 แต่ความท้าทายสำคัญคือมีจำนวนคนไทยอีกกว่า 24 ล้านคน ที่เสี่ยงต่อการเป็นคนจนหลายมิติ

ปัญหาการใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือต่อรอง กับความเสี่ยงของการถอยกลับ
เมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ผู้เขียนได้มีโอกาสพูดคุยกับศาสตราจารย์ชาวสวีเดนที่คว่ำหวอดเรื่องการวิจัยเกี่ยวกับความขัดแย้งและสันติภาพมายาวนานท่านหนึ่ง เขาตั้งข้อสังเกตว่าทำไมสังคมไทยจึงไม่ค่อยให้ความสำคัญกับกระบวนการสันติภาพในภาคใต้ที่นับได้ว่ามีความก้าวหน้าที่สำคัญ

แก้รัฐธรรมนูญล่ม สังคมโทษใคร?
'พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง' ชวนสำรวจประสบการณ์ทางการเมืองในประเทศต่าง ๆ ที่พยายามแก้ไขรัฐธรรมนูญ พบอุปสรรคภายใต้เงื่อนไขของรัฐบาลผสม ตลอดจนวิเคราะห์ผลกระทบต่อความนิยมในพรรคร่วมรัฐบาลพรรคต่าง ๆ

การพูดคุยสันติภาพในภาคใต้: ความเสี่ยงของการถอยกลับ (1)
กว่าครึ่งปีหลังนางสาวแพทองธาร ชินวัตรขึ้นมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐบาลยังคงแสวงหา “ยุทธศาสตร์ใหม่” ในการดับไฟใต้ ท่ามกลางคำถามว่ายุทธศาสตร์ที่ใช้มาถูกทางหรือไม่ ทำไมมีการพูดคุยสันติภาพแล้ว ความรุนแรงยังคงดำเนินอยู่

การุณยฆาต กับ หมอพาลิ
ละครซีรีส์การุณยฆาต ออกอากาศทางช่องวัน 31 ได้รับความสนใจจากสังคมไทยเป็นอย่างดี ละครนี้ เกิดจากนิยาย เรื่องการุณยฆาต ประพันธ์โดยนักเขียนซึ่งเป็นแพทย์ผู้ทำงานด้านเวชศาสตร์ประคับประคอง หรือเรียกกันว่า “หมอพาลิ” ผู้ให้การดูแล Palliative care

ประชามติรัฐธรรมนูญในโลกนี้ ต้องทำหลายครั้งหรือไม่?
กว่า 4 ปี หลังจากคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 4/2564 การจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ยังคงเป็นประเด็นถกเถียงโดยเฉพาะจำนวนครั้งที่ต้องทำประชามติ เมื่อฝ่ายหนึ่งเห็นว่าควรมีประชามติ 2 ครั้งก็เพียงพอแล้ว ขณะที่อีกฝ่ายมองว่าควรทำประชามติ 3 ครั้งเพื่อความปลอดภัย

ชีวิตและความตาย สิทธิที่กำหนดได้ด้วยตนเอง
ชีวิตและความตาย คนเรานั้นควรมีชีวิตแบบที่เรียกว่า “อยู่ก็สบาย ตายก็เป็นสุข” แต่จะตายอย่างเป็นสุขได้ก็ต้องมีการเตรียมตัวไว้ตั้งแต่ยังไม่ตาย เช่นเดียวกับการมีชีวิตที่สุขสบายซึ่งก็ต้องมีการเตรียมตัวมาตั้งแต่วัยเยาว์ การเตรียมเพื่อการตายที่เป็นสุข จำเป็นต้องทำตั้งแต่ก่อนตายเมื่อชีวิตและร่างกายยังแข็งแรง

หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการการุณยฆาตผู้ป่วย
การการุณยฆาตผู้ป่วยเป็นประเด็นที่ซับซ้อนเนื่องจากจะเกี่ยวข้องกับแนวคิดของเรื่องความตาย สิทธิมนุษยชน ระบบกฎหมาย รวมทั้งความพร้อมของสังคมและระบบริการสุขภาพของประเทศนั้นที่อนุญาตให้ดำเนินการได้