ThaiPBS Logo

แท็ก: กนง.

บทความ

กนง.ลดดอกเบี้ยนโยบาย คนกู้เงินได้ประโยชน์อะไร?

กนง.ลดดอกเบี้ยนโยบาย คนกู้เงินได้ประโยชน์อะไร?

ภายหลัง กนง.มีมติลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายในรอบกว่า 4 ปี จาก 2.50% สู่ระดับ 2.25% ต่อปี ส่งผลให้ธนาคารพาณิชย์ในไทยต้องทยอยประกาศปรับลดดอกเบี้ยลงตาม แล้วประชาชนคนไทยได้ประโยชน์อะไรบ้างจากการลดดอกเบี้ยครั้งนี้

กนง.ลดดอกเบี้ย 0.25% ครั้งแรกในรอบกว่า 4 ปี

กนง.ลดดอกเบี้ย 0.25% ครั้งแรกในรอบกว่า 4 ปี

มติ กนง.ลดอัตราดอกเบี้ยครั้งแรกในรอบกว่า 4 ปี เหลือ 2.25% ต่อปี มองสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ และช่วยบรรเทาภาระหนี้ครัวเรือน พร้อมจับตาหนี้เสียอย่างใกล้ชิด ปฏิเสธเจอแรงกดดันจากการเมืองให้ลดดอกเบี้ย ขณะที่สำนักวิจัยระบุลดดอกเบี้ยสวนทางตลาด

ทำไมคาดการณ์ว่ากนง.ยังคงดอกเบี้ย  16 ต.ค. นี้

ทำไมคาดการณ์ว่ากนง.ยังคงดอกเบี้ย 16 ต.ค. นี้

การลดดอกเบี้ยโดยไม่จำเป็นส่งผลดีกับรัฐบาลและภาคธุรกิจ แต่ไม่ช่วยเพิ่มสภาพคล่องรายย่อยที่ขาดความสามารถในการแข่งขัน ทีดีอาร์ไอหนุน ธปท.ปรับโครงสร้างหนี้ แนะรัฐบาลทุ่มงบเพิ่มทักษะผู้ประกอบการระดับล่าง

คาดกนง.คงดอกเบี้ยถึงสิ้นปี แต่ลด 2 ครั้งครึ่งแรกปีหน้า

คาดกนง.คงดอกเบี้ยถึงสิ้นปี แต่ลด 2 ครั้งครึ่งแรกปีหน้า

คาดการณ์เศรษฐกิจไทยปีนี้เติบโตที่ 2.4% และกนง.อาจคงดอกเบี้ยนโยบายถึงสิ้นปีนี้ แต่มีแนวโน้มปรับลดในช่วงครึ่งแรกของปีหน้า 2 ครั้ง จากการจับจ่ายใช้สอยแผ่วลง หนุนกนง.ผ่อนคลายนโยบายการเงินมากขึ้น

เศรษฐกิจไทยยังไหว กนง.ไม่รีบลดดอกเบี้ย แต่ห่วงหนี้เสียปูด

เศรษฐกิจไทยยังไหว กนง.ไม่รีบลดดอกเบี้ย แต่ห่วงหนี้เสียปูด

รายงานประชุม กนง. ส่งสัญญาณไม่รีบปรับลดอัตราดอกเบี้ย ประเมินเศรษฐกิจไทยขยายตัวเข้าสู่ระดับศักยภาพ และเงินเฟ้อขยับเข้ากรอบล่างเป้าหมายปลายปี 67 แต่กังวลหนี้เสียเริ่มขยายวงไปยังกลุ่มรายได้สูง พร้อมเฝ้าระวังกระทบเศรษฐกิจ

กนง.ผวาหนี้เสีย ฉุดเศรษฐกิจไทย มึนลงทุนเอกชนทรุด

กนง.ผวาหนี้เสีย ฉุดเศรษฐกิจไทย มึนลงทุนเอกชนทรุด

คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติ 6 ต่อ 1 เสียง คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 2.50% ต่อเนื่อง มองเศรษฐกิจไทยยังขยายตัว แต่จับตาใกล้ชิดสถานการณ์หนี้เสียที่แย่ลง หวั่นกระทบเศรษฐกิจประเทศ

เศรษฐกิจไทยชะลอ ลุ้นกนง.ลดดอกเบี้ยปลายปี 67

เศรษฐกิจไทยชะลอ ลุ้นกนง.ลดดอกเบี้ยปลายปี 67

เศรษฐกิจไทยเติบโตลดลงมาตั้งแต่ต้นปี 67 และมีแนวโน้มจะแย่ลงเรื่อย ๆ จากปัญหาเชิงโครงสร้างที่สะสมมานาน แม้นโยบายการเงินจะช่วยแก้ปัญหานี้ได้ไม่มาก แต่ก็มีการคาดว่า กนง.อาจยอมลดดอกเบี้ย 1 ครั้งในปลายปี 67 เพื่อลดแรงกดดันเศรษฐกิจในประเทศ

กนง.เพิ่มน้ำหนักคงดอกเบึ้ย มีมติ 6 ต่อ 1

กนง.เพิ่มน้ำหนักคงดอกเบึ้ย มีมติ 6 ต่อ 1

กนง.คงดอกเบี้ยในระดับสูงต่อเรื่อง 2.5% ต่อปี แต่รอบนี้คณะกรรมการฯเห็นต่างแค่ 1 เสียง ซึ่งส่วนใหญ่มองเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวได้ดี ส่วนเงินเฟ้อที่สูงขึ้นมาจากปัจจัยชั่วคราวคาดสิ้นปี 67 ยังอยู่ในกรอบเป้าหมาย

คาดกนง.ตรึงดอกเบี้ย 2.50% ถึงสิ้นปี 67

คาดกนง.ตรึงดอกเบี้ย 2.50% ถึงสิ้นปี 67

แม้ว่ากนง.จะเผชิญกับแรงกดดันจากรัฐบาลให้ลดดอกเบี้ยนโยบาย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่สำนักวิจัยกรุงศรีคาดการณ์ กนง.จะไม่ลดดอกเบี้ยในช่วงที่เหลือของปี 67 หลังเศรษฐกิจไทยแนวโน้มเติบโตกว่าที่คาดการณ์ไว้ และเงินเฟ้อเริ่มกลับมาเป็นบวกขยับเข้ากรอบเป้าหมาย

“ดอกเบี้ยมีความพิเศษเฉพาะ” กนง.รับฟังทุกข้อเสนอ ก่อนลงมติคงดอกเบี้ย

“ดอกเบี้ยมีความพิเศษเฉพาะ” กนง.รับฟังทุกข้อเสนอ ก่อนลงมติคงดอกเบี้ย

มติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายต่อ 2.50% กนง.พร้อมยินดีรับฟังข้อเสนอจากทุกฝ่าย ถือเป็นความหวังดีและเป็นประโยชน์ หลังถูกกดดันหนักจากรัฐบาล โดยเฉพาะนายกรัฐมนตรีที่ส่งสัญญาณถึง 3 ครั้งให้ลดดอกเบี้ยหวังกระตุ้นเศรษฐกิจ

นโยบายการเงิน ภายใต้ความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ

นโยบายการเงิน ภายใต้ความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ

อะไรคือนโยบายการเงินที่เหมาะสม โดยเฉพาะเรื่องดอกเบี้ยควรลดหรือไม่? เป็นข้อถกเถียงในช่วง 1-2 เดือนที่ผ่านมา เมื่อรัฐบาลเผชิญกับปัญหาเรื่อง "นโยบายดิจิทัลวอลเล็ต" และเรียกร้องให้แบงก์ชาติลดดอกเบี้ย ซึ่ง ดร.สมชัย จิตสุชน อดีตกรรมการ กนง. มีคำตอบ