ไทยเป็นประเทศที่เจอกับภาวะภัยแล้งและน้ำท่วมทุกปี แต่การบริหารจัดการน้ำกลับยังไม่มีประสิทธิภาพ จึงถือเป็นโอกาสอันดีที่จะนำปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น มาเป็นบทเรียนแก้ไขรับมือภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ท่ามกลางความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่จะรุนแรงมากขึ้น
สัญญาณเตือนกระทบจากเอลนีโญ ผลผลิตภาคเกษตรที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศลดลงถ้วนหน้า ทั้งสาขาพืชและประมง ส่งผลให้จีดีพีไตรมาส 2 ปี 2567 ติดลบ แต่คาดว่าครึ่งปีหลังดีขึ้นจากเอลนีโญสิ้นสุดลง
การรับรู้ของคนทั่วไปเกี่ยวกับสถานการณ์สิ่งแวดล้อมเลวร้ายลงทุกปี แต่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมของไทยในปีที่ผ่านมา กลับระบุว่าดีขึ้นและทรงตัว ไม่มีด้านใดที่เลวร้ายลง
อุทกภัย และภัยแล้ง เป็นวิกฤตที่ไทยประสบพบเจอทุกปี ซึ่งปัญหานี้เป็นตัวฉุดรั้งการเติบโตเศรษฐกิจประเทศ และเป็นอุปสรรคใหญ่ในการทำให้ไทยพัฒนาเป็นประเทศที่มีรายได้สูงในอนาคต รายงานธนาคารโลกแนะ 3 ข้อใหญ่ที่รัฐบาลไทยควรเร่งดำเนินการ
ปัญหาภัยแล้ง น้ำท่วม คือวิกฤตที่คนไทยเผชิญต่อเนื่องทุกปี ทำให้สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ได้จัดเวทีระดมข้อคิดเห็น สรุปออกมาเป็นมติรายงานการพัฒนานโยบายสาธารณะ เรื่องการส่งเสริมความเข้มแข็งกลไกการบริหารจัดการน้ำเชิงพื้นที่ ด้วยการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลไกของพื้นที่ในการร่วมกันวางแผน
ผลกระทบเอลนีโญรุนแรง คาดผลกระทบไทยแล้งหนัก ภัยแล้งต่อเนื่องถึงปี 2567 ขณะที่ปริมาณน้ำใช้การได้จริงทั่วประเทศ น้อยกว่าปีที่แล้งที่สุด
นโยบายสิ่งแวดล้อมแทบทุกรัฐบาล มักมีความสำคัญในลำดับรองหรือไม่ก็เป็นส่วนหนึ่งของเป้าหมายการฟื้นฟูเศรษฐกิจ แต่ในภาวะที่ทั่วโลกกำลังเข้าสู่ยุค “โลกเดือด” และเกิด “ความแปรปรวน” ยากที่จะคาดการณ์ ดังนั้นจึงถึงเวลาที่ต้องให้ความสำคัญกับเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง