เครือข่ายรักษ์พะโต๊ะ-เครือข่ายรักษ์ระนอง เตรียมเดินทางเข้ากรุง ยื่นหนังสือนายกฯ ให้ทบทวนโครงการแลนด์บริดจ์ และร่างพ.ร.บ.ระเบียงเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ หรือ SEC หันมาสร้างจุดแข็งในพื้นที่ด้านเกษตร ประมง และท่องเที่ยว
เปิดโรดแมปโครงการแลนด์บริดจ์ เชื่อมอ่าวไทย-อันดามัน คาดว่าในปี 2568 กระบวนการออกแบบและประกาศคัดเลือกเอกชนผู้สนใจลงทุนจะเสร็จสิ้น และเสนอครม.เพื่อดำเนินการได้ในกลางปี 2569 โดยจะเริ่มก่อสร้างเฟสแรกในไตรมาส 3 ปี 2569
สำรวจระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง เสี่ยงสูงจากโครงการแลนด์บริดจ์ อาจกระทบต่อการยื่นขึ้นละเบียนเป็น "พื้นที่มรดกโลก แหล่งอนุรักษ์ทะเลอันดามัน" ในพื้นที่รวมเกือบ 2 ล้านไร่
มองอีกมุมของโครงการแลนด์บริดจ์ โครงการขนาดใหญ่พัฒนาเขตเศรษฐกิจภาคใต้ หลังจากก่อนหน้านี้เจอคำถามเรื่องความเหมาะสมและคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจ แต่ประเด็นที่ต้องถาม คือ ปัญหาสิทธินุษยชนที่กำลังที่ตามมา หากเกิดโครงการนี้จริง
แลนด์บริดจ์ เมกะโปรเจกต์ที่อยู่ ๆ รัฐบาลเพื่อไทยก็ผลักดันขึ้นมา โหมกันหนัก โดยอ้างเหตุผลการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ แต่โครงกานี้มีศึกษามาก่อนและได้ข้อสรุปมานานว่าไม่คุ้มค่า โดยล่าสุดสศช. ออกรายงานประจำปี ไม่ปรากฏโครงการนี้อยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษของประเทศ
แลนด์บริดจ์ ยังคงถกเถียงกันไปอีกนาน ทั้งฝ่ายต้องการผลักดันและฝ่ายคัดค้าน ซึ่งความพยายามผลักดันของรัฐบาล ทำให้เห็นความสับสนในนโยบายการพัฒนาประเทศของหน่วยงานรัฐ เพราะขณะนี้ที่กระทรวงคมนาคมพยายามเร่งดำเนินการ แต่การประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) สัญจรครั้งนี้กลับเดินหน้าผลักดันเป็นศูนย์กลางท่องเที่ยว
แลนด์บริดจ์ กำลังเผชิญกับคำถามเรื่องการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจว่าคุ้มค่าตามที่สำนักนโยบายและแผนขนส่งและจราจร(สนข.) รายงานผลการศึกษาหรือไม่ เพราะบรรดานักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญด้านการขนส่งทางเรือเห็นว่า "เป็นไปได้ยาก"
โครงการแลนด์บริดจ์ ที่รัฐบาลประกาศเดินหน้าโครงการตั้งแต่เริ่มต้นบริหารประเทศ กำลังกลายเป็นประเด็นถกเถียง เนื่องจากโครงการนี้ได้ยุติไปแล้วตั้งแต่สมัยรัฐบาลที่แล้ว เนื่องจากผลการศึกษาระบุว่าไม่มีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ แต่กลับมาผลักดันอีกครั้งในรัฐบาลเพื่อไทย
แลนด์บริดจ์ จากกระดาษแผ่นเดียว พร้อมลายเส้นเป็นลายมือขยุกขยุย ที่ดูคล้ายแผนที่ประเทศไทย ของนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีของไทย ที่ไปโรดโชว์กับนักลงทุนระหว่างการเยือนจีน โครงการแลนด์บริดจ์ก็ได้รับการ "ฟื้นชีพ" ขึ้นมาอีกครั้ง
เครือข่ายกลุ่มรักษ์พะโต๊ะ เปิดข้อมูลพื้นที่ก่อสร้างโครงการแลนด์บริดจ์ เพื่อใช้เป็นท่าเทียบเรือในการขนส่งสินค้า บริเวณชายฝั่งทะเล ทั้ง 2 ฝั่ง ซึ่งมีทั้งหารถมทะเล ขุดลอก พร้อมเสนอผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมและผู้คนในพื้นที่ก่อสร้าง
นักวิชาการสิ่งแวดล้อม ห่วงผลกระทบระบบนิเวศ-ทรัพยากร จุดก่อสร้างและรอบโครงการแลนด์บริดจ์ แนะศึกษาผลกระทบรอบด้านรอบคอบ เพราะอาจได้ไม่คุ้มเสีย
เมื่อวันที่ 16 ต.ค. 2566 คณะรัฐมนตรี (ครม.) รับทราบโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งเพื่อพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้เพื่อเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างอ่าวไทยและอันดามัน (โครงการแลนด์บริดจ์) ตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอ