
จับตาโดมิโน “อนุรักษ์นิยมทางเพศ”
ปรากฏการณ์ของนโยบายอนุรักษ์นิยมทางเพศ (Sexual Conservatism) ของโดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา ได้สร้างแรงสั่นสะเทือนให้กับโลกอีกครั้ง เมื่อประธานาธิบดีทรัมป์ลงนามในคำสั่งพิเศษ (Executive Order) กำหนดให้รัฐบาลกลางยอมรับเพียง 2 เพศทางชีววิทยาคือ ชายและหญิง

เปิดไทม์ไลน์เขียน รธน. ใหม่ เทียบแก้ ม.256 ฉบับ พท. – ปชน.
ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับของพรรคเพื่อไทยและพรรคประชาชน มีจุดประสงค์เพื่อแก้ ม.256 และเพิ่มหมวด 15/1 ทำให้สามารถแก้ไขรัฐธรรมนูญในอนาคตได้ง่ายขึ้น แต่ยังมีรายละเอียดที่แตกต่างกันในหลายประเด็น

ประชามติรัฐธรรมนูญในโลกนี้ ต้องทำหลายครั้งหรือไม่?
กว่า 4 ปี หลังจากคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 4/2564 การจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ยังคงเป็นประเด็นถกเถียงโดยเฉพาะจำนวนครั้งที่ต้องทำประชามติ เมื่อฝ่ายหนึ่งเห็นว่าควรมีประชามติ 2 ครั้งก็เพียงพอแล้ว ขณะที่อีกฝ่ายมองว่าควรทำประชามติ 3 ครั้งเพื่อความปลอดภัย

เขียนรัฐธรรมนูญใหม่กี่โมง? : สำรวจโจทย์ทั้งเก่าและใหม่เพื่อจะพบว่าไทยยังไม่ได้แก้อะไรเลย
แม้ว่าการจัดทำ 'รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน' จะเป็นคำสัญญาของหลายพรรคการเมือง รวมไปถึงพรรครัฐบาลอย่างพรรคเพื่อไทย ดังที่ปรากฏในคำแถลงนโยบายของนายกรัฐมนตรีแพทองธาร แต่ทุกฝ่ายยังจำเป็นต้องจับตามองการเสนอร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญมาตรา 256 ในการประชุมร่วมของทั้งสองสภาที่กำลังจะมีขึ้นในวันที่ 14 กุมภาพันธ์นี้

อิมพีชเมนต์ : ผ่านเลนส์ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญและการเมืองภาคประชาชน
ท่ามกลางเสียงพูดคุยหนาหูถึงความเป็นไปได้ในการกลับประเทศไทยของอดีตนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ผู้ซึ่งถูกศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากการรักษาการตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเมื่อ พ.ศ. 2557 ประกอบกับข่าวการประกาศกฎอัยการศึกสายฟ้าแลบของ นายยุน ซอก-ยอล ซึ่งตามมาด้วยการลงมติถอดถอนออกจากตำแหน่งโดยสภานิติบัญญัติ

การเมืองเรื่องแก้รัฐธรรมนูญ: ภายใต้ระเบียบโลกใหม่
บทความนี้ชวนผู้อ่านมองอุปสรรคในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 ในไทยจากมุมมองที่กว้างขึ้น กล่าวคือ จากมุมการเปลี่ยนแปลงระเบียบโลก ซึ่งเสรีนิยมประชาธิปไตยไม่ได้เป็นบรรทัดฐานทางการเมืองอีกต่อไป ในขณะเดียวกัน ก็ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่าสิ่งใดจะมาแทนที่

ร่วมออกแบบ สสร. วางรากฐานรัฐธรรมนูญของประชาชน
เส้นทางสู่รัฐธรรมนูญใหม่ แม้ยังอีกไกลและอาจไม่เสร็จสิ้นในสมัยรัฐบาลแพทองธาร ชินวัตร แต่สิ่งหนึ่งที่ทำได้เลยคือ การออกแบบ สสร. ซึ่งเป็นบันไดขั้นแรกที่จะนำไปสู่การออกแบบแกนกลางของรัฐธรรมนูญและโครงสร้างการเมืองที่เป็นของทุกคน

กม.สมรสเท่าเทียมผ่านแล้ว แต่เด็กยังถูกเลือกปฏิบัติ
มีกฎหมายสมรสเท่าเทียม แต่แนวปฏิบัติกลับยังไม่ชัดเจน ส่งผลกระทบไปถึงเด็กในรั้วโรงเรียน ทั้งที่ต้องได้รับการป้องกันมากกว่ากลุ่มอื่น ถึงเวลาที่ต้องเชื่อมโยงทุกภาคส่วน เร่งกันสร้างการยอมรับและความเข้าใจเรื่อง “เพศหลากหลาย” ไม่ให้ติดกรอบเดิม ๆ

เสียงจากผู้ไร้อำนาจ จะก้องกังวานเมื่อใด?
ในยุคที่เสียงของกลุ่มคนไร้อำนาจ (powerless) ถูกละเลยในกระบวนการทำนโยบาย คำถามสำคัญคือ "เมื่อใดจึงจะทำให้เสียงของกลุ่มคนไร้อำนาจสามารถมีผลต่อนโยบาย?"