ThaiPBS Logo

บทความ

หมวดหมู่ :
ทั้งหมด
หมวดหมู่ :
ทั้งหมด
หน้า 2/3
พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม ปลดล็อกที่อยู่อาศัย LGBTQIAN+

พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม ปลดล็อกที่อยู่อาศัย LGBTQIAN+

กฎหมายสมรสเท่าเทียม เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในเรื่องความเสมอภาคทางเพศในสังคมไทย หลังมีการต่อสู้เรียกร้องมายาวนาน ถือเป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่จะเปิดโอกาสให้คู่รัก LGBTQIAN+ สมรสกันได้อย่างถูกกฎหมาย

คนไทยมอง สว. อย่างไร

คนไทยมอง สว. อย่างไร

กติกาใหม่ที่กำหนดให้ สว. มาจากการเลือกกันเอง 20 กลุ่มอาชีพ นำมาสู่เสียงวิพากษ์วิจารณ์ ทั้งในประเด็นความสลับซับซ้อนในขั้นตอนการเลือกที่ประชาชนจำนวนมากยังไม่เข้าใจ และยังมีประเด็นเรื่องขาดการยึดโยงกับประชาชน จนไม่อาจสะท้อนการเป็นตัวแทนของประชาชนเข้าไปทำหน้าที่ในสภาสูง

จับตางานร้อน สว. ชุดใหม่

จับตางานร้อน สว. ชุดใหม่

โค้งสุดท้ายกระบวนการคัดเลือกวุฒิสภา ที่ตรียมเลือกระดับประเทศกันในวันที่ 26 มิ.ย. นี้ และจะได้สว. 200 คน เข้าไปทำหน้าที่สภาสูง ซึ่งมีภารกิจสำคัญต่าง ๆ มากมายรออยู่ข้างหน้า

กติกาเลือกสว. แก้บล็อกโหวต-ได้คนคุณภาพจริงหรือ?

กติกาเลือกสว. แก้บล็อกโหวต-ได้คนคุณภาพจริงหรือ?

กติกาเลือกสว. แม้จะมีเจตนาเพื่อต้องการให้เกิดความอิสระและปลอดอิทธิพลพรรคการเมือง แต่กลับสร้างความสับสนและความไม่เชื่อมั่นต่อระบบเลือกตั้ง นักวิชาการไม่เชื่อสว.ใหม่เปลี่ยนบ้านเมืองได้ ด้านภาคประชาชนกังวลมีช่องโหว่เสี่ยงฮั้วกัน เปิดทางให้เทคะแนนโหวตเพื่อบล็อกคู่แข่ง

เปิดบันทึก “มีชัย ฤชุพันธ์” ต้นคิดที่มาสว.

เปิดบันทึก “มีชัย ฤชุพันธ์” ต้นคิดที่มาสว.

การเลือกตั้งสว.ที่กำลังจะมาถึงอีกไม่กี่วันข้างหน้า พร้อมด้วยกติกาใหม่ที่หลายคนงง และออกมาวิพากษ์วิจารณ์คณะกรรมการการเลือกตั้ง(กกต.) อย่างรุนแรง แต่จะรู้หรือไม่ว่ากติกาที่ว่ามาจากไหน และใครเป็นผู้เสนอ ถ้าไม่ใช่ มีชัย ฤชุพันธ์ุ อดีตประธานคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.)

จับตาสว.ชุดใหม่ มีอำนาจโหวตแก้รธน.-ตั้งองค์กรอิสระ

จับตาสว.ชุดใหม่ มีอำนาจโหวตแก้รธน.-ตั้งองค์กรอิสระ

การเลือกตั้ง สว.ชุดใหม่ของไทย เป็นเรื่องที่ควรจับตา หลัง ชุดเดิมยุคแต่งตั้งจาก คสช.ใกล้หมดวาระดำรงตำแหน่ง 5 ปี ซึ่ง สว.มีอำนาจสูงสุด คือ โหวตแก้รัฐญธรรมนูญ และแต่งตั้งบุคคลในองค์กรตรวจสอบอิสระต่าง ๆ

ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ แก้กฎหมาย ทำประชามติ 3 ครั้ง

ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ แก้กฎหมาย ทำประชามติ 3 ครั้ง

รัฐบาลเดินหน้าจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ตามผลการศึกษาของคณะกรรมการฯ โดยมีการทำประชามติ 3 ครั้ง และให้มีการแก้ไขกฎหมายประชามติบางมาตรา

ครม.รับพิจารณาร่าง พ.ร.บ.สภาชนเผ่าพื้นเมือง

ครม.รับพิจารณาร่าง พ.ร.บ.สภาชนเผ่าพื้นเมือง

ครม.รับพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสภาชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย พ.ศ. .... ที่นายศักดิ์ดา แสนมี่ กับประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวน 12,888 คน เป็นผู้เสนอ กำหนดเวลาในการพิจารณา 60 วัน

โอกาสและทิศทาง พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ ใต้อุ้งมือรัฐบาลเศรษฐา

โอกาสและทิศทาง พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ ใต้อุ้งมือรัฐบาลเศรษฐา

กระแสเรียกร้องให้คุ้มครองสิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์มีเพิ่มมากขึ้น ปัจจุบันมีร่างกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องนี้จากสภาชนเผ่าพื้นเมือง ภาคการเมือง และภาคประชาชน Policy Watch นำบทวิเคราะห์ โดย อภินันท์ ธรรมเสนา ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ที่สะท้อนถึงสถานการณ์ ความท้าทาย และโอกาสของ พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ในปัจจุบัน

หน้า 2/3