หลังประเทศไทยปลดล็อก “กัญชาเสรี” ทำให้กัญชากลับมาอยู่ในบัญชียาเสพติดอีกครั้ง หลังจากไม่มี พ.ร.บ.ควบคุมชัดเจน ทำให้เกิด “สุญญากาศกฎหมาย” แต่ในช่วง 3 ปี แห่งนโยบายกัญชาเสรี พบว่ามีผู้ป่วยจากพิษกัญชา โรคจิต และการเสพติดเพิ่มขึ้นหลายเท่า ทั้งในกลุ่มผู้ป่วยนอก-ใน โดยเฉพาะในพื้นที่ท่องเที่ยว
"กัญชาเสรี" หรือ ปลดกัญชาออกบัญชียาเสพติด ไปไม่ถึงฝั่ง เมื่อ "สมศักดิ์ เทพสุทิน" รมว.สาธารณสุขจากพรรคเพื่อไทย ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข ถึงกัญชากลับมาเป็นยาเสพติดอีกครั้ง หลังผ่านไป 3 ปี ตั้งแต่ปลายสมัยรัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์
ครม.ไฟเขียวร่างร่างกฎกระทรวงสาธารณสุข นําเข้า-ส่งออก ขาย ครอบครอง สารสกัดจากกัญชาหรือกัญชง ตามกฎหมายยาเสพติด เป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ต้องขออนุญาต โดยใบอนุญาตมีอายุ 3 ปี
กระทรวงสาธารณสุขยุค "สมศักดิ์ เทพสุทิน" มีความมั่นใจการนำ "กัญชา" กลับเข้าสู่บัญชียาเสพติดอีกครั้ง หลังมีการใช้นโยบายกัญชาเสรีกว่าหนึ่งปี เนื่องจากการเปิดรับฟังความคิดเห็นร่างประกาศควบคุมกัญชา มีผู้แสงความเห็นมากเป็นประวัติการกว่าแสนครั้ง เกือบ 80% เห็นด้วยกับการนำกัญหากลับมาบัญชียาเสพติดอีกครั้ง
การเปลี่ยนไปเปลี่ยนมาของนโยบายกัญชาทำให้เกิดความสับสน โดยหลังปลดล็อกออกจากบัญชียาเสพติดเมื่อวันที่ 9 มิ.ย. 2565 ผ่านไป 2 ปี รัฐบาลต้องการนำกลับเข้าบัญชียาเสพติดอีกครั้ง ขณะที่ข้อมูลข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกัญชาค่อนข้างกระจัดกระจาย ฝ่ายหนุน และฝ่ายต้าน อ้างข้อมูลกันคนละชุด
รัฐบาลจะมีการปรับนโยบายปราบปรามยาเสพติดอีกครั้ง เมื่อคณะรัฐมนตรี(ครม.) เห็นชอบร่างแก้ไขกฎกระทรวงสาธารณสุข ปรับลดถือครองยาบ้าจาก 5 เม็ดเหลือ 1 เม็ด ที่ถือว่า "เป็นผู้เสพ" แต่ผู้เชี่ยวชาญชี้นโยบายกำลังถอยหลังเข้าคลอง และไม่สามารถแก้ปัญหาได้ อีกทั้งเสี่ยงต่อการระเมิดสิทธิมนุษยชน
การแก้ไขประมวลกฎหมายยาเสพติดให้ผู้เสพคือผู้ป่วย เมื่อปี 2564 ทำให้กระทรวงสาธารณสุขต้องร่างกฎกระทรวงเกี่ยวกับการครอบครองยาบ้า รวมถึงต้องเตรียมพื้นที่รองรับ ‘ผู้ป่วย’ ด้วย ‘มินิธัญญารักษ์’