ThaiPBS Logo

แท็ก: PolicyForum

บทความ

กทม.ติดอันดับ 42 โลก เมืองคุณภาพอากาศแย่

กทม.ติดอันดับ 42 โลก เมืองคุณภาพอากาศแย่

IQAir เป็นบริษัทเทคโนโลยีคุณภาพอากาศในสวิตเซอร์แลนด์ รายงานคุณภาพอากาศทั่วโลกในปีที่ผ่านมา ระบุในอาเซียนดีขึ้น โดยอันดับไทยขยับขึ้น ขณะที่กทม.เป็นเมืองที่มีสภาพอากาศยอดแย่อันดับ 42 ของโลก แแต่เชียงใหม่ครองแชมป์อากาศยอดแย่ในไทย

ยกระดับ “ข้อมูล” รับมือภัยพิบัติ

ยกระดับ “ข้อมูล” รับมือภัยพิบัติ

น้ำท่วม ไฟป่า ฝุ่นควัน... ปัญหาเดิม ๆ ที่วนเวียนมาไม่จบไม่สิ้นในทุกปี! สะท้อนถึงปัญหาการจัดการภัยพิบัติในรูปแบบเดิมไม่สามารถรับมือได้อีกต่อไป ถึงเวลาแล้วที่เราจะใช้ "ข้อมูล" ที่มีอยู่มาออกแบบนวัตกรรมการรับมือภัยพิบัติ ฟื้นคืนชีวิต จิตใจ และเศรษฐกิจของคนไทย

ยอมรับ “อัตลักษณ์” โจทย์สำคัญสู่สันติภาพชายแดนใต้

ยอมรับ “อัตลักษณ์” โจทย์สำคัญสู่สันติภาพชายแดนใต้

ความพยายามในการคลี่คลายปัญหา “ชายแดนใต้” ถูกเน้นหนักไปที่เรื่อง “ความมั่นคง” จนอาจกำลังจะละเลยเรื่อง “อัตลักษณ์” ของผู้คน ทั้งที่ความหลากหลายทางวัฒนธรรม เชื้อชาติ และศาสนา เป็นสิ่งที่สวยงาม และเชื่อว่าอาจเป็นหนึ่งในใบเบิกทางที่จะนำไปสู่สันติภาพให้เกิดขึ้นได้จริง

วาดอนาคต “ภูเก็ต” โจทย์ใหญ่ ถึงว่าที่ นายก อบจ.

วาดอนาคต “ภูเก็ต” โจทย์ใหญ่ ถึงว่าที่ นายก อบจ.

แม้จะมีงบประมาณ อบจ.มากถึงปีละ 1,400 ล้านบาท แต่ “ห่านที่ออกไข่ทองคำให้ประเทศ” อย่างภูเก็ตก็มีราคาที่ต้องจ่าย จากการเป็นเมืองเศรษฐกิจและท่องเที่ยวสำคัญ

นโยบายสาธารณะผ่านขาขึ้น แต่ไปไม่ถึงขาเคลื่อน

นโยบายสาธารณะผ่านขาขึ้น แต่ไปไม่ถึงขาเคลื่อน

ในยุคที่การมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะ เป็นความหวังในการแก้โจทย์สังคมได้อย่างตรงจุด แต่ข้อเสนอเชิงนโยบายจากเสียงของประชาชนกลับ “ติดดอย - ติดหล่ม” การใช้นวัตกรรมเชิงนโยบาย วิเคราะห์ข้อมูลและติดตามการทำงานของผู้กำหนดนโยบาย ไปพร้อมกับการหาหน้าต่างนโยบายให้เจอ จะช่วยผลักดันข้อเสนอนโยบายลงจากดอย

กม.สมรสเท่าเทียมผ่านแล้ว แต่เด็กยังถูกเลือกปฏิบัติ

กม.สมรสเท่าเทียมผ่านแล้ว แต่เด็กยังถูกเลือกปฏิบัติ

มีกฎหมายสมรสเท่าเทียม แต่แนวปฏิบัติกลับยังไม่ชัดเจน ส่งผลกระทบไปถึงเด็กในรั้วโรงเรียน ทั้งที่ต้องได้รับการป้องกันมากกว่ากลุ่มอื่น ถึงเวลาที่ต้องเชื่อมโยงทุกภาคส่วน เร่งกันสร้างการยอมรับและความเข้าใจเรื่อง “เพศหลากหลาย” ไม่ให้ติดกรอบเดิม ๆ

1 ปีนโยบาย “ชีวาภิบาล” หลายปัญหาที่ต้องสะสางสู่สิทธิตายดี

1 ปีนโยบาย “ชีวาภิบาล” หลายปัญหาที่ต้องสะสางสู่สิทธิตายดี

จากจุดเริ่มต้นของแนวคิดให้ทุกคนเข้าถึง “สิทธิการตายดี” สามารถใช้เวลาช่วงวาระสุดท้ายของชีวิตให้จากไปอย่างไม่ทุกข์ทรมาน ยกระดับมาสู่ “นโยบายสถานชีวาภิบาล” ที่ดำเนินต่อเนื่องมาถึง 2 รัฐบาล แม้จะเห็นเป็นรูปธรรมมากขึ้น แต่ยังมีหลายปัญหาที่ยังสะดุด ต้องช่วยกันเร่งแก้เพื่อให้นโยบายเดินหน้าต่อได้

พฤติกรรมยุคดิจิทัลทำสุขภาพจิตแย่ แก้ที่เราหรือใคร?

พฤติกรรมยุคดิจิทัลทำสุขภาพจิตแย่ แก้ที่เราหรือใคร?

ลืมมือถือแล้วกระสับกระส่าย เช็กฟีดโซเชียลฯ ตลอดเวลา ไถหน้าจอตอนกินข้าวกับที่บ้าน หรือต้องคอยตอบไลน์งานในวันหยุด พฤติกรรมคุ้นชินที่กลายเป็นโรคแห่งยุคสมัย ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตโดยที่หลายคนยังไม่รู้ตัว เป็นปมปัญหาที่ต้องแก้ในระดับสังคม และนโยบาย เพื่อทวงคืนสมาธิที่ถูกขโมยไปก่อนจะทำให้ใจป่วย

พลังงานสะอาดสำคัญอย่างไร ในวันที่ค่าไฟแพง

พลังงานสะอาดสำคัญอย่างไร ในวันที่ค่าไฟแพง

“ราคาค่าไฟ” ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาพุ่งขึ้นแตะ 5 บาท/หน่วย ชี้ให้เห็นความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องเร่งแก้ไข ขณะที่พลังงานสะอาด ถูกพูดถึงมานานนับสิบปี แต่การพัฒนาเชิงระบบยังไม่เดินหน้า นำมาสู่ข้อเสนอ “ปลดล็อกนโยบายพลังงานสะอาด สร้างโอกาสประเทศ” เร่งปรับร่าง PDP 2024

14 ปี จากมติ ครม. สู่กฎหมายชาติพันธุ์

14 ปี จากมติ ครม. สู่กฎหมายชาติพันธุ์

ใกล้ความจริงมากขึ้น เมื่อ กมธ.วิสามัญ “ร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ พ.ศ. …” พิจารณากฎหมายครบทั้ง 35 มาตรา เร่งเดินหน้าหาฉันทามติ 3 ประเด็นละเอียดอ่อนให้จบภายใน ส.ค.นี้ เป็นของขวัญรับ “วันชนเผ่าพื้นเมืองโลก” ก่อนส่งสภาฯ เข้าสู่การพิจารณาในวาระ 2