
EJF โต้สมาคมประมงฯ เตือนไทยเสี่ยงใบเหลือง
เตือนการแก้ไขกฎหมายการประมง จะทำให้การปฏิรูปอุตสาหกรรมประมงที่ผ่านมา "สูญเปล่า" เสี่ยงต่อการทำลายทรัพยากรทางทะเล และเปิดประตูให้การทำประมงผิดกฎหมาย และละเมิดสิทธิมนุษยชนในกองเรือประมงไทยอีกครั้ง

ปลดล็อกแรงงานประมง ไฟเขียวต่างด้าว 4 สัญชาติ
ครม.อนุมัติ 2 หลักการร่างประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี และกระทรวงมหาดไทย อนุญาตให้แรงงานต่างด้าว 4 สัญชาติ ยื่นขอใบอนุญาตทำงานบนเรือประมงไทยได้ตลอดทั้งปี จากเดิมที่ยื่นขอได้ 2 ช่วงเวลาต่อปี

สมาคมประมงไทย มองกฎ IUU รุนแรงเกิน
สหภาพยุโรปขู่ให้ "ใบเหลือง" คว่ำบาตรอาหารทะเลประเทศไทยอีกครั้ง ห่วงการแก้กฎหมายรอบใหม่จะลดการควบคุมการทำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IUU) แต่สมาคมการประมงแห่งประเทศไทย มองอีกด้านว่าที่ผ่านมาได้รับความเสียหายจากการทำตามกฎ IUU และเชื่อว่าจะไม่กระทบการเจรจาเอฟทีเอ

จับตาร่างแก้กม.ประมง ถอยหลังเข้าคลอง ฉบับ”ก้าวไกล”หนักสุด
ปฏิรูปอุตสาหกรรมประมงของไทย กำลังก้าวถอยหลังลงคลอง เมื่อร่าง พ.ร.บ.แก้ไขกฎมายประมง ทั้ง 7 พรรคการเมือง และ ครม. รวม 8 ฉบับ ที่มุ่งเน้นลดคุ้มครองแรงงาน ติดตามเรือประมง และจำกัดเครื่องมือประมงที่ทำลายล้างทรัพยากร ซึ่งอาจกระทบส่งออกอาหารทะเลไทยในต่างประเทศ เพราะขัดกับข้อกำหนดทางการค้า

อุตสาหกรรมประมงเสี่ยง เจอ “ใบเหลือง”รอบ 2 จากอียู
เตือนการแก้กฎหมายประมงที่กำลังอยู่ในกรรมาธิการ กำลังพาอุตสาหกรรมประมงไทยเสี่ยง จากการเจอ "ใบเหลือง" รอบสองจากอียู และสถานการณ์อาจย่ำแย่ เมื่อหลายประเทศที่เป็นตลาดหลักของไทยกำลังออกกฎหมายเข้มงวด สกัดประมงผิดกฎหมายและไร้การควบคุม

แก้กฎหมายประมง พาไทยเสี่ยงเจอ”ใบเหลือง” กระทบเจรจา FTA
ไทยกำลังเผชิญกับความเสี่ยงอีกครั้ง หลังรัฐบาลเดินหน้าแก้กฎหมายประมง จากนโยบาย "ทวงคืนเจ้าสมุทร" ของพรรคเพื่อไทย โดยมีการแก้กฎระเบียบหลายด้าน โดยยูอีจับตาสถานการณ์ด้านการทำประมงที่กำลังจะเกิดขึ้น ทำให้ไทยกลับไปสู่จุดเดิม ในเรื่อง "IUU" และทำให้การเจรจา FTA กับอียูล้มเหลว

ร่างกฎกระทรวงใหม่ ลดอุปสรรคออกใบอนุญาตประมง
ครม.อนุมัติร่างกฎกระทรวงใหม่การขออนุญาตทำประมงพาณิชย์ สามารถออกใบอนุญาตเพิ่มเติมได้หากเรือมีความพร้อม เพิ่มหลักเกณฑ์เรือใหม่ทดแทนเรือ เพิ่มเครื่องมือทำประมง และลดเอกสารของราชการ

ประกาศใช้เกณฑ์ แบ่ง-โอนสิทธิที่ดินส.ป.ก.ให้ทายาท
กฎกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดหลักเกณฑ์แบ่งแยกและโอนสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 ให้กับทายาทโดยธรรม รวมถึงการนำสิทธิในที่ดินไปชำระหนี้สถาบันเกษตรกร และสามารถคืนให้กับ ส.ป.ก. โดยได้รับค่าตอบแทน

รัฐถือครองที่ดินเกินจำเป็น ไม่เอื้อประชาชนอยู่ดีกินดี
รัฐไทยถือครองที่ดินราว 60% ของทั้งประเทศ แต่การบริหารยังขาดความเป็นระบบเดียวกัน นำมาซึ่งปัญหาการทับซ้อนของพื้นที่มากถึง 1 ใน 3 ของทั้งประเทศ ก่อให้เกิดข้อพิพาทกับชาวบ้านที่ถูกกีดกันออกจากพื้นที่ป่าดั้งเดิมมาอย่างต่อเนื่อง