ThaiPBS Logo

แท็ก: ดอกเบี้ย

บทความ

มาตรการอุ้มลูกหนี้รายย่อย สร้างภาระมากกว่าตัวเงิน

มาตรการอุ้มลูกหนี้รายย่อย สร้างภาระมากกว่าตัวเงิน

มาตรการ "ลดภาระหนี้ของลูกค้ารายย่อยและธุรกิจขนาดเล็ก" หรือ มาตรการกึ่งพักหนี้ สำหรับสินเชื่อบ้าน-รถยนต์-เอสเอ็มอี กำลังเพิ่มความเสี่ยงให้กับประเทศ ไม่ใช่ความเสี่ยงเรื่องเม็ดเงินที่ต้องเข้าไปใช้ในมาตรการ แต่เป็นความเสี่ยงจากการสร้างวัฒนธรรมเบี้ยวหนี้ หรือ Moral Hazard ที่จะส่งผลกระทบระยะยาว

กนง.ลดดอกเบี้ยนโยบาย คนกู้เงินได้ประโยชน์อะไร?

กนง.ลดดอกเบี้ยนโยบาย คนกู้เงินได้ประโยชน์อะไร?

ภายหลัง กนง.มีมติลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายในรอบกว่า 4 ปี จาก 2.50% สู่ระดับ 2.25% ต่อปี ส่งผลให้ธนาคารพาณิชย์ในไทยต้องทยอยประกาศปรับลดดอกเบี้ยลงตาม แล้วประชาชนคนไทยได้ประโยชน์อะไรบ้างจากการลดดอกเบี้ยครั้งนี้

เมื่อการเมือง “เจ็ตแล็ก” เรื่องนโยบายดอกเบี้ย

เมื่อการเมือง “เจ็ตแล็ก” เรื่องนโยบายดอกเบี้ย

คณะกรรมการนโยบายการเงิน(กนง.) มีมติลดดอกเบี้ยนโยบายลง 0.25% จาก 2.50% เหลือ 2.25% มีผลทันทีในการประชุม 16 ต.ค. 2567 แต่ธนาคารพาณิชย์ยังไม่มีการปรับลดดอกเบี้ยตาม มีเพียงธนาคารออมสินและธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) ที่ปรับลดลง 0.25% แต่มีผล 1 พ.ย. 2567

ดอกเบี้ยกำลังขาลง จากเศรษฐกิจชะลอ-การเงินโลก

ดอกเบี้ยกำลังขาลง จากเศรษฐกิจชะลอ-การเงินโลก

กนง.ปรับลดดอกเบี้ย 0.25% ทำให้ตลาดมองว่าแบงก์ชาติกำลังเผชิญกับแรงกดดันจากการเมือง หากประเมินจากเหตุผลในการปรับลดดอกเบี้ยครั้งนี้อาจจะต่างไปจากเดิมบ้าง เพราะทิศทางเศรษฐกิจแทบไม่เปลี่ยน แต่ทิศทางการเงินโลกและแนวโน้มเศรษฐกิจในระยะข้างหน้า ทำให้ทิศทางดอกเบี้ยในประเทศกำลังเข้าสู่ขาลง

กนง.ลดดอกเบี้ย 0.25% ครั้งแรกในรอบกว่า 4 ปี

กนง.ลดดอกเบี้ย 0.25% ครั้งแรกในรอบกว่า 4 ปี

มติ กนง.ลดอัตราดอกเบี้ยครั้งแรกในรอบกว่า 4 ปี เหลือ 2.25% ต่อปี มองสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ และช่วยบรรเทาภาระหนี้ครัวเรือน พร้อมจับตาหนี้เสียอย่างใกล้ชิด ปฏิเสธเจอแรงกดดันจากการเมืองให้ลดดอกเบี้ย ขณะที่สำนักวิจัยระบุลดดอกเบี้ยสวนทางตลาด

ทำไมคาดการณ์ว่ากนง.ยังคงดอกเบี้ย  16 ต.ค. นี้

ทำไมคาดการณ์ว่ากนง.ยังคงดอกเบี้ย 16 ต.ค. นี้

การลดดอกเบี้ยโดยไม่จำเป็นส่งผลดีกับรัฐบาลและภาคธุรกิจ แต่ไม่ช่วยเพิ่มสภาพคล่องรายย่อยที่ขาดความสามารถในการแข่งขัน ทีดีอาร์ไอหนุน ธปท.ปรับโครงสร้างหนี้ แนะรัฐบาลทุ่มงบเพิ่มทักษะผู้ประกอบการระดับล่าง

คาดกนง.คงดอกเบี้ยถึงสิ้นปี แต่ลด 2 ครั้งครึ่งแรกปีหน้า

คาดกนง.คงดอกเบี้ยถึงสิ้นปี แต่ลด 2 ครั้งครึ่งแรกปีหน้า

คาดการณ์เศรษฐกิจไทยปีนี้เติบโตที่ 2.4% และกนง.อาจคงดอกเบี้ยนโยบายถึงสิ้นปีนี้ แต่มีแนวโน้มปรับลดในช่วงครึ่งแรกของปีหน้า 2 ครั้ง จากการจับจ่ายใช้สอยแผ่วลง หนุนกนง.ผ่อนคลายนโยบายการเงินมากขึ้น

หนี้ประเทศเสี่ยงชนเพดาน จากรัฐกู้แจก”ดิจิทัลวอลเล็ต”

หนี้ประเทศเสี่ยงชนเพดาน จากรัฐกู้แจก”ดิจิทัลวอลเล็ต”

คาดเศรษฐกิจไทยขยายตัวต่ำในปี 2024 และ 2025 ที่ 2.5% และ 2.6% ตามลำดับ ภาคการท่องเที่ยวยังเป็นแรงหนุนหลัก ขณะที่โครงการดิจิทัลวอลเล็ต ช่วยได้ไม่มากและชั่วคราว แต่มีความเสี่ยงให้หนี้สาธารณะพุ่งขึ้นชนเพดานในปี 2027 เพราะใช้วงเงินสูง รัฐบาลต้องกู้เงินมาเดินหน้าโครงการ

ไทยต้องลดขาดดุลการคลัง ปฏิรูปตรงจุด-ทำให้ได้ตามแผน

ไทยต้องลดขาดดุลการคลัง ปฏิรูปตรงจุด-ทำให้ได้ตามแผน

AMRO มองนโยบายการเงินไทยเหมาะสม แต่แนะให้ลดการขาดดุลการคลัง ด้วยการปฏิรูปจัดเก็บภาษี รองรับรายจ่ายที่เพิ่มขึ้นในอนาคต และต้องปฏิรูปเศรษฐกิจเพื่อเพิ่มศักยภาพในระยะยาว ทำให้ตรงจุดและตามแผนที่วางไว้

กนง.เพิ่มน้ำหนักคงดอกเบึ้ย มีมติ 6 ต่อ 1

กนง.เพิ่มน้ำหนักคงดอกเบึ้ย มีมติ 6 ต่อ 1

กนง.คงดอกเบี้ยในระดับสูงต่อเรื่อง 2.5% ต่อปี แต่รอบนี้คณะกรรมการฯเห็นต่างแค่ 1 เสียง ซึ่งส่วนใหญ่มองเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวได้ดี ส่วนเงินเฟ้อที่สูงขึ้นมาจากปัจจัยชั่วคราวคาดสิ้นปี 67 ยังอยู่ในกรอบเป้าหมาย

หนี้ครัวเรือนลด “ทางเทคนิค” ต่ำกว่า 91% จากจีดีพีโต

หนี้ครัวเรือนลด “ทางเทคนิค” ต่ำกว่า 91% จากจีดีพีโต

หนี้ครัวเรือนในไตรมาสแรกปีนี้จะปรับลดลงเล็กน้อยจากระดับ 91% เพราะจีดีพีขยายตัว แต่ปัญหายังคงอยู่ เพราะหากระดับที่ทำให้เศรษฐกิจยั่งยืนแล้ว สัดส่วนหนี้ครัวเรือนจะต้องไม่เกินระดับ 80% ของจีดีพี

รัฐเลิกอุดหนุนราคาพลังงาน ดันต้นทุนเพิ่ม กระตุ้นเงินเฟ้อพุ่ง

รัฐเลิกอุดหนุนราคาพลังงาน ดันต้นทุนเพิ่ม กระตุ้นเงินเฟ้อพุ่ง

ถึงเวลาที่รัฐบาลเริ่มทยอยลดมาตรการอุดหนุนราคาน้ำมันและไฟฟ้า หลังราคาพลังงานโลกปรับสูงขึ้น กดดันกองทุนน้ำมันที่ต้องแบกรับค่าใช้จ่ายมหาศาล ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดหากรัฐเลิกอุดหนุนราคาพลังงาน จะดันให้เงินเฟ้อพลิกกลับมาเป็นบวกในไตรมาส 2 ปี 67 ซึ่งเงินเฟ้อเป็นสิ่งสำคัญที่ ธปท.ใช้พิจารณาปรับขึ้นลงอัตราดอกเบ

มุมมองผู้ว่าธปท. ในสถานการณ์ถูกกดดันลดดอกเบี้ย

มุมมองผู้ว่าธปท. ในสถานการณ์ถูกกดดันลดดอกเบี้ย

มุมมอง ผู้ว่า ธปท. กับแรงปะทะทางการเมือง เป็นเรื่องปกติของธนาคารกลางทุกแห่ง โดยรัฐบาลส่วนใหญ่จะมีมุมมองแค่ระยะสั้นไม่คำนึงผลข้างเคียง พร้อมยอมรับว่าการที่นายกรัฐมนตรี นั่งควบตำแหน่ง รมว.คลัง ถือเป็นความท้าทายในการทำงานร่วมกัน

“ดอกเบี้ยมีความพิเศษเฉพาะ” กนง.รับฟังทุกข้อเสนอ ก่อนลงมติคงดอกเบี้ย

“ดอกเบี้ยมีความพิเศษเฉพาะ” กนง.รับฟังทุกข้อเสนอ ก่อนลงมติคงดอกเบี้ย

มติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายต่อ 2.50% กนง.พร้อมยินดีรับฟังข้อเสนอจากทุกฝ่าย ถือเป็นความหวังดีและเป็นประโยชน์ หลังถูกกดดันหนักจากรัฐบาล โดยเฉพาะนายกรัฐมนตรีที่ส่งสัญญาณถึง 3 ครั้งให้ลดดอกเบี้ยหวังกระตุ้นเศรษฐกิจ

นโยบายการเงิน ภายใต้ความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ

นโยบายการเงิน ภายใต้ความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ

อะไรคือนโยบายการเงินที่เหมาะสม โดยเฉพาะเรื่องดอกเบี้ยควรลดหรือไม่? เป็นข้อถกเถียงในช่วง 1-2 เดือนที่ผ่านมา เมื่อรัฐบาลเผชิญกับปัญหาเรื่อง "นโยบายดิจิทัลวอลเล็ต" และเรียกร้องให้แบงก์ชาติลดดอกเบี้ย ซึ่ง ดร.สมชัย จิตสุชน อดีตกรรมการ กนง. มีคำตอบ