คนเชียงรายปรับบทบาทจาก “ผู้ประสบภัย” เป็น “ผู้มีส่วนร่วมตัดสินใจเชิงนโยบาย” ระดมความเห็นทุกภาคส่วนจากทั้งผู้ประสบภัยพิบัติ ภาคประชาสังคม ภาควิชาการ สื่อ เอกชน และหน่วยงานรัฐ ผลักดันข้อเสนอเชิงนโยบายให้จังหวัดเชียงรายเป็นต้นแบบรับมือภัยพิบัติอย่างยั่งยืน พร้อมเสนอรัฐบาลให้การสนับสนุน
การฟ้องปิดปาก หรือ SLAPP ถูกนำมาเป็นเครื่องมือขัดขวางการตรวจสอบหรือ ปกป้องประโยชน์สาธารณะ ขณะที่ในประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายให้ความช่วยเหลือผู้ที่ถูกดำเนินคดีจากการฟ้องปิดปาก ดังนั้น การเร่งออกกฎหมายป้องกันการฟ้องคดีปิดปากจึงเป็นอีกกลไกสำคัญสู่การตรวจสอบและป้องกันการทุจริตคอร์รัปชัน
ภาคใต้กำลังเข้าสู่ฤดูฝนในเดือน พ.ย.นี้ สามเดือนนับจากนี้เป็นช่วงที่ต้องเฝ้าระวัง น้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลากและดินถล่ม การเตรียมความพร้อมรับมือจึงต้องเริ่มตั้งแต่วันนี้ ชุมชนจะต้องตอบ 3 คำถามให้ได้ หนีเมื่อไร? หนีอย่างไร? หนีไปไหน? และภาคีเครือข่ายต้องช่วยสร้างกลไกสนับสนุนให้พวกเขาเข้มแข็ง
ระบบบัตรทองในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กำลังอยู่ท่ามกลางความท้าทายรอบด้าน ทั้งจากความแตกต่างและซับซ้อนมากกว่าจังหวัดอื่น รวมไปถึงต้นทุนการให้บริการที่สูงกว่า และปัญหาจากคลินิกชุมชนอบอุ่นถอนตัว ขณะที่โรงพยาบาลขนาดใหญ่ต้องแบกต้นทุนการรักษาเพราะได้รับการเบิกจ่ายจาก สปสช. เพียงบางส่วน
“ผมเชื่อมั่นครับ ว่าภายใต้รัฐบาลนี้ ปัญหาคอร์รัปชันจะลดลง ความโปร่งใสและเป็นธรรมจะเพิ่มมากขึ้น และตามมาด้วยความน่าเชื่อถือ การยอมรับจากประชาชนและนักลงทุนทั่วโลก ซึ่งจะส่งผลกระทบในทางที่ดีต่อเศรษฐกิจ และความเป็นอยู่ของพี่น้องประชาชนทุกคน”
วิกฤตอุทกภัย และปริมาณดินโคลนจำนวนมหาศาลที่พัดพาความเสียหายมาสู่เชียงรายรอบล่าสุด สะท้อนถึงปัญหา “โลกรวน” ที่การจัดการในรูปแบบเดิมไม่สามารถรับมือได้อีกต่อไป วงเสวนาระดมความคิดเห็น สู่มิติใหม่ในการจัดการภัยพิบัติอย่างยั่งยืน เสนอแผน 3 ระยะ พร้อมผลักดันให้มีกลไกร่วมระหว่างรัฐ เอกชน และภาคประชาสังคม
ลืมมือถือแล้วกระสับกระส่าย เช็กฟีดโซเชียลฯ ตลอดเวลา ไถหน้าจอตอนกินข้าวกับที่บ้าน หรือต้องคอยตอบไลน์งานในวันหยุด พฤติกรรมคุ้นชินที่กลายเป็นโรคแห่งยุคสมัย ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตโดยที่หลายคนยังไม่รู้ตัว เป็นปมปัญหาที่ต้องแก้ในระดับสังคม และนโยบาย เพื่อทวงคืนสมาธิที่ถูกขโมยไปก่อนจะทำให้ใจป่วย