
โลกรวน เพิ่มความรุนแรงภัยพิบัติ : 4 เรื่องเร่งด่วนเตรียมพร้อมรับความเปลี่ยนแปลง
ประเทศไทยกำลังเผชิญหน้ากับความท้าทายครั้งใหญ่จากภัยธรรมชาติที่มีความรุนแรงและความถี่มากขึ้น โดยเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งหลายภัยพิบัติที่เกิดขึ้นทั่วประเทศได้สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินมหาศาล ทั้งยังเป็นคำเตือนให้ประเทศไทยเตรียมรับมือกับภัยธรรมชาติที่ไม่อาจปฏิเสธได้ในอนาคต

ย้ำสัญญา ลดคาร์บอนไทย กับทิศทางต่อไปในปี 2025
ประเทศไทยประกาศเป้าหมายชัดเจนในการประชุมระดับสูงของ COP ครั้งที่ 29 ณ เมืองบากู ประเทศอาเซอร์ไบจาน โดยมุ่งตามเป้า NDC สู่ความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี 2050 ท่ามกลางการจับตาว่าจะเป็นไปตามเป้าหมายได้มากน้อยแค่ไหน และแตกต่างจากประเทศอื่น ๆ อย่างไรบ้าง

สมุดปกแดง ลายแทงสู้ภัยพิบัติในภาวะโลกเดือด
ภัยพิบัติมีแนวโน้มเกิดมากขึ้นทั่วโลก สร้างความเสียหายรุนแรงต่อเนื่อง นำมาสู่การระดมสมองเตรียมพร้อมรับมือเพื่อป้องกันและลดความสูญเสีย ด้วยกลไกทางกฎหมาย การบริหารจัดการ และนวัตกรรมที่ปรับเปลี่ยนไปตามความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิกาศในยุคโลกเดือด

ดอกเบี้ยโลกปีงูเล็ก “ขาลง” ดอกเบี้ยไทยรอลุ้นกนง.
ปีงูเล็กมาเยือน พร้อมกับเศรษฐกิจไม่สดใสมากนัก ทำให้นักวิเคราะห์คาดว่าธนาคารกลางประเทศยักษ์ใหญ่ของโลกจะปรับลดดอกเบี้ย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่สำหรับไทยยังไม่ชัดเจน แม้ว่าจะคาดการณ์ว่ามาตรการกระตุ้นต่าง ๆ ของรัฐบาลที่ออกมา อาจจะไม่ช่วยให้เศรษฐกิจขยายตัวได้มากนัก

นโยบายสาธารณะผ่านขาขึ้น แต่ไปไม่ถึงขาเคลื่อน
ในยุคที่การมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะ เป็นความหวังในการแก้โจทย์สังคมได้อย่างตรงจุด แต่ข้อเสนอเชิงนโยบายจากเสียงของประชาชนกลับ “ติดดอย - ติดหล่ม” การใช้นวัตกรรมเชิงนโยบาย วิเคราะห์ข้อมูลและติดตามการทำงานของผู้กำหนดนโยบาย ไปพร้อมกับการหาหน้าต่างนโยบายให้เจอ จะช่วยผลักดันข้อเสนอนโยบายลงจากดอย

ไทยตามหลังหรือไม่? เปรียบเทียบระบบป้องกันภัยพิบัติที่รอบด้านจากรอบโลก
ระบบป้องกันภัยพิบัติที่ใช้กันทั่วโลกมีความแตกต่างกันไปตามบริบทของแต่ละประเทศ ซึ่งมีจุดแข็ง จุดอ่อนแตกต่างกันไป การเรียนรู้จากประสบการณ์ของประเทศจะช่วยให้ประเทศไทยสามารถเปรียบเทียบและนำมาปรับใช้ในสถานการณ์ที่เหมาะสม

คนไทยหนี้ท่วม มาจากรายได้ไม่พอ ต้องกู้นอกระบบ
นโยบายแก้หนี้ "คุณสู้ เราช่วย" เป็นเพียงมาตรการระยะสั้น แต่ยังไม่ตอบโจทก์มากพอในการแก้ปัญหาหนี้ครัวเรือน ปัญหาใหญ่มาจากรายได้ไม่เพียงพอ แม้มีมาตรการช่วเหลือ ลูกหนี้ยังไม่สามารถกลับสู่ภาวะปกติได้ รัฐบาลควรดำเนินการระยะยาวและมีฐานข้อมูลเพียงพอ เพื่อแก้ปัญหาให้ตรงจุด

บทเรียนโรคไตเรื้อรัง: ถึงเวลาทำงบประมาณแบบฐานศูนย์
วิธีการงบประมาณแบบฐานศูนย์ (Zero-Based Budgeting) ที่มีการเสนอวิธีการจัดงบประมาณใหม่ของประเทศที่ไม่อิงจากงบในอดีต แต่ก็ยังคงเป็นแนวคิด แต่จากบทเรียนงบประมาณที่ใช้รักษา “โรคไตเริ้อรัง“อาจจำเป็นต้องหันมาหาทางเลือกการจัดสรรงบใหม่

ดันซอฟท์พาวเวอร์อาหารไทย กลยุทธ์ต้องชัด ระบบนิเวศต้องมี
อาหารไทย ถือเป็นหนึ่งใน Soft power และอุตสาหกรรมเป้าหมายที่มีศักยภาพสูงในการขับเคลื่อนการเติบโตให้เศรษฐกิจไทย แต่ต้องมีกลยุทธ์ที่ชัดเจนและสร้างระบบนิเวศอย่างครบวงจร