ถึงเวลาต้องปรับใช้เทคโนโลยีอย่างจริงจัง เพื่อแก้ปัญหาคอร์รัปชันในไทย ก่อนที่ปัญหาจะเกินเยียวยา คอร์รัปชั่นเรื่อยมา หลังจากดัชนีรับรู้การทุจริต หรือ CPI ของประเทศร่วงต่อเนื่อง โดยเฉพาะในปี 2567 คะแนนที่ต่ำสุดในรอบ 12 ปี ป.ป.ช.หวั่นกระทบลงทุนจากภาพลักษณ์ย่ำแย่
พ.ร.ป. การป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2568 ประกาศใช้เพื่อเพิ่มระบบคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสคดีทุจริตต่อ ป.ป.ช. โดยไม่ต้องรับผิดหากถูกฟ้องร้องกลับ โดยหวังเพิ่มผู้ชี้เป้าทุจริตและการประพฤติมิชอบของผู้ดำรงตำเเหน่งทางการเมือง แต่ไม่ช่วยกรณีอื่น
ในภาคเรียนที่ผ่านมา ผู้เขียนได้รับผิดชอบสอนวิชาสถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ ซึ่งทำให้ผู้เขียนมีโอกาสได้ศึกษาค้นคว้างานวิชาการหลากหลายที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างและบทบาทของสถาบันการเมือง หนึ่งในหัวใจสำคัญของวิชาที่ผู้เขียนเน้นย้ำกับนักศึกษา คือ หลักการตรวจสอบและถ่วงดุล
คดีฮั้วเลือกสว. จะจบลงอย่างไร หรือ จะเป็นมวยล้มต้มคนดู หลังผ่านไปกว่า 1 ปีเพิ่งดำเนินคดี ขณะที่สว.บางกลุ่มขอเปิดประชุมสภาวิสามัญ เลือกผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ ที่มีอำนาจในการพิจารณาสอบสวนและตัดสินคดีนี้ นำไปสู่ความกังวลใจเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน “เลือกคนที่จะมาตัดสินตัวเอง”
เหตุการณ์ตึก สตง.แห่งใหม่ถล่มผ่านมาเดือนกว่า ภาคประชาชนและภาคประชาสังคมยังคงกระตือรือร้นที่จะตรวจสอบปัญหาทุจริต เคลื่อนไหวให้ผู้กระทำความผิดแสดงความรับผิดชอบ รวมทั้งพยายามหาวิธีแก้ไขปัญหาทุจริตในโครงการรัฐ
เหตุการณ์ตึก สตง. ถล่มทำให้คนไทยมองเห็นทุนจีน 'ลึกขึ้น' และ 'หลากหลายมากขึ้น' แต่ทว่าเหตุการณ์ไม่ปกติเหล่านี้กลายเป็นเรื่องปกติสำหรับประเทศไทยได้อย่างไร เราควรตั้งข้อสงสัยต่อกฎหมายหรือผู้ดูแลกฎหมายกันอย่างไร
ปัญหาเรื่องสุขภาพจิต ไม่ได้ส่งผลเสียเฉพาะตัวบุคคลแต่ยังกระทบไปถึงสังคมในวงกว้าง และเชื่อมโยงต่อเนื่องไปถึงมิติทุจริต คอร์รัปชัน โจทย์ใหญ่ของประเทศไทยคือ เราจะสร้างเมืองอย่างไรให้พร้อมโอบรับประชาชน เพื่อลดการเกิดปัญหาสุขภาพจิตของทุกช่วงวัยในอนาคตได้
การมีนโยบายที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลางและมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน สามารถเสริมสร้างความโปร่งใสและลดโอกาสในการเกิดการทุจริต โดยการเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนของกระบวนการนโยบายตั้งแต่การออกแบบไปจนถึงการตรวจสอบ จะช่วยสร้างความโปร่งใสและลดโอกาสการทุจริตเชิงนโยบายได้อย่างยั่งยืน
ปัญหาคอร์รัปชันกลายเป็นปัญาระดับโลกที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อระบบเศรษฐกิจและการลงทุนระหว่างประเทศ การรวมตัวกันของหน่วยงานต่อต้านคอร์รัปชันผ่าน ASEAN-PAC มีเป้าหมายเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือในการป้องกันและปราบปรามทุจริต
ธรรมาภิบาล เป็นแนวคิดสำคัญในการบริหารจัดการที่ต้องเน้นความโปร่งใส ความเป็นธรรม และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนและลดการทุจริต แต่ในประเทศไทยการนำนโยบายธรรมาภิบาลไปใช้กลับถูกจำกัดให้อยู่ในกรอบของระบบราชการและข้าราชการเป็นศูนย์กลางของอำนาจ
วงจรคอร์รัปชัน ไม่ได้เกิดขึ้นเพียงในภาครัฐแต่เกี่ยวข้องกับทุกภาคส่วนในสังคม โดยเฉพาะภาคเอกชนซึ่งเป็นตัวแปรสำคัญที่มีส่วนเกี่ยวข้องในทุกมิติตั้งแต่สถานการณ์ ปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแก้ไขคอร์รัปชันจึงยึดโยงกับเอกชนและส่งต่อผลกระทบไปยังระบบเศรษฐกิจของสังคมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
การทุจริตคอร์รัปชันในปัจจุบันมีความซับซ้อนและส่งผลกระทบเสียหายรุนแรง แนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพจำเป็นต้องอาศัยการการส่วนร่วมของทุกประเทศทั่วโลก ทั้งองค์กรระหว่างประเทศ และประชาชนทั้งในระดับนานาชาติ และในประเทศ
การฟ้องปิดปาก หรือ SLAPP ถูกนำมาเป็นเครื่องมือขัดขวางการตรวจสอบหรือ ปกป้องประโยชน์สาธารณะ ขณะที่ในประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายให้ความช่วยเหลือผู้ที่ถูกดำเนินคดีจากการฟ้องปิดปาก ดังนั้น การเร่งออกกฎหมายป้องกันการฟ้องคดีปิดปากจึงเป็นอีกกลไกสำคัญสู่การตรวจสอบและป้องกันการทุจริตคอร์รัปชัน
“ผมเชื่อมั่นครับ ว่าภายใต้รัฐบาลนี้ ปัญหาคอร์รัปชันจะลดลง ความโปร่งใสและเป็นธรรมจะเพิ่มมากขึ้น และตามมาด้วยความน่าเชื่อถือ การยอมรับจากประชาชนและนักลงทุนทั่วโลก ซึ่งจะส่งผลกระทบในทางที่ดีต่อเศรษฐกิจ และความเป็นอยู่ของพี่น้องประชาชนทุกคน”
คำแถลงนโยบายรัฐบาลของนาวสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี มีความคล้ายกับของนายเศรษฐา ทวีสิน ในหลาย ๆ นโยบาย และที่คล้ายกันอย่างน่าประหลาดใจคือ ทั้งสองรัฐบาลไม่มีการระบุเกี่ยวกับนโยบายการปราบปรามการทุจริต ราวกับว่าสังคมไทยไม่มีปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันและไม่ใช่เรื่องของรัฐบาล