บทความ

ยอมรับ “อัตลักษณ์” โจทย์สำคัญสู่สันติภาพชายแดนใต้
ความพยายามในการคลี่คลายปัญหา “ชายแดนใต้” ถูกเน้นหนักไปที่เรื่อง “ความมั่นคง” จนอาจกำลังจะละเลยเรื่อง “อัตลักษณ์” ของผู้คน ทั้งที่ความหลากหลายทางวัฒนธรรม เชื้อชาติ และศาสนา เป็นสิ่งที่สวยงาม และเชื่อว่าอาจเป็นหนึ่งในใบเบิกทางที่จะนำไปสู่สันติภาพให้เกิดขึ้นได้จริง

ปัญหาการใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือต่อรอง กับความเสี่ยงของการถอยกลับ
เมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ผู้เขียนได้มีโอกาสพูดคุยกับศาสตราจารย์ชาวสวีเดนที่คว่ำหวอดเรื่องการวิจัยเกี่ยวกับความขัดแย้งและสันติภาพมายาวนานท่านหนึ่ง เขาตั้งข้อสังเกตว่าทำไมสังคมไทยจึงไม่ค่อยให้ความสำคัญกับกระบวนการสันติภาพในภาคใต้ที่นับได้ว่ามีความก้าวหน้าที่สำคัญ

การพูดคุยสันติภาพในภาคใต้: ความเสี่ยงของการถอยกลับ (1)
กว่าครึ่งปีหลังนางสาวแพทองธาร ชินวัตรขึ้นมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐบาลยังคงแสวงหา “ยุทธศาสตร์ใหม่” ในการดับไฟใต้ ท่ามกลางคำถามว่ายุทธศาสตร์ที่ใช้มาถูกทางหรือไม่ ทำไมมีการพูดคุยสันติภาพแล้ว ความรุนแรงยังคงดำเนินอยู่

7 ข้อจำกัดที่นักสันติวิธี พยายามเดินข้าม
ทำไมแก้ปัญหาแบบไม่ใช้ความรุนแรง และ ปัญหาความเหลื่อมล้ำแก้ยากในสังคมไทย "มารค ตามไท" สรุปบทเรียนหลังจากทำงานด้านสันติวิธีมายาวนาน เพื่อส่งต่อให้คนรุ่นหลังตระหนักถึงความยากลำบากที่ต้องพูดคุยกับ "อำนาจ"

ถอดบทเรียน 2 ทศวรรษ สู่สันติภาพชายแดนใต้
ผ่านมา 20 ปี กับนายกรัฐมนตรี 8 คน แต่จนถึงวันนี้ ทำไมปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้ยังไม่มีทิศทางว่าจะจบ ? และสันติภาพยังคงเป็นเป้าหมายที่เดินไปไม่ถึง ?

2 ทศวรรษชายแดนใต้... สันติภาพที่ยังไปไม่ถึง
เหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ กำลังก้าวเข้าสู่ 2 ทศวรรษ ซึ่งตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมาความรุนแรงที่ตั้งแต่ช่วงปี 2547 จนถึงปัจจุบัน นำไปสู่ความสูญเสียชีวิต ทรัพย์สินของประชาชน และเจ้าหน้าที่ อย่างประเมินค่าไม่ได้

เปิดโรดแมป JCPP จุดเปลี่ยนสร้างสันติสุขชายแดนใต้
JCPP หรือ แผนปฏิบัติการร่วมเพื่อสร้างสันติสุขแบบองค์รวม ที่คณะพูดคุยสันติสุขฝ่ายไทยและบีอาร์เอ็น เห็นชอบใน 3 หลักการ คือ การลดความรุนแรง การปรึกษาหารือกับประชาชน และการแสวงหาทางออกทางการเมือง นับว่าเป็นความหวังสร้างสันติสุขในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ คาดว่าจะสามารถลงนามข้อตกลง ซึ่งเป็นครั้งแรกในปีนี้