ThaiPBS Logo

แท็ก: ภัยพิบัติ

บทความ

จากเหมืองอัคราถึงแม่น้ำกก จะรับมืออย่างไร เมื่อพบสารหนูในเด็ก

จากเหมืองอัคราถึงแม่น้ำกก จะรับมืออย่างไร เมื่อพบสารหนูในเด็ก

กรมอนามัย ตรวจปริมาณสารหนูปนเปื้อนในปัสสาวะของชาวบ้านแม่อาย 25 คนในจำนวนดังกล่าวมีเด็กเล็ก หญิงตั้งครรภ์ พบการปนเปื้อน แตยังไม่เกินมาตรฐาน ขณะที่แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ หวั่นอันตรายซ้ำรอยกรณีเหมืองทองอัครา แนะตรวจสอบสุขภาพเด็กเพิ่ม และแยกชนิดสารหนูว่าเป็นสาร อินทรีย์ หรือ อนินทรีย์ เพราะอันตรายแตกต่างกัน

เปิดร่าง พ.ร.บ.ใหม่ ติดดาบกรมอุตุฯ วางมาตรฐานพยากรณ์อากาศ

เปิดร่าง พ.ร.บ.ใหม่ ติดดาบกรมอุตุฯ วางมาตรฐานพยากรณ์อากาศ

เปิดฟังความเห็นร่างกฎหมาย พ.ร.บ.อุตุนิยมวิทยา กำหนดให้เป็น “หน่วยงานหลัก“ พยากรณ์อากาศ มีอำนาจดูแลเครื่องมือให้มีความแม่นยำ ควบคุมข้อมูลภาครัฐและเอกชน ป้องกันบิดเบือนสร้างความเสียหายประชาชน พร้อมกำหนดบทลงโทษทางอาญากับผู้ฝ่าฝืนกฎหมาย

ผลกระทบแผ่นดินไหว ซ้ำเติมท่องเที่ยวไทย

ผลกระทบแผ่นดินไหว ซ้ำเติมท่องเที่ยวไทย

นักท่องเที่ยวต่างชาติ ก.พ. ต่ำสุดในรอบ 4 เดือน จากนักท่องเที่ยวจีนลดลง กังวลความปลอดภัยในไทยและเศรษฐกิจภายในซบเซา ขณะที่แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ ฉุดความเชื่อมั่น นักท่องเที่ยวต่างชาติกังวล แห่ยกเลิกตั๋วเครื่องบินและที่พัก

ไทยมั่นคงพลังงานไฟฟ้า ทำไมจ่ายค่าไฟแพง??

ไทยมั่นคงพลังงานไฟฟ้า ทำไมจ่ายค่าไฟแพง??

ไทยเป็นประเทศที่มั่นคงพลังงานไฟฟ้า แต่ ร่างแผน PDP 2024 ที่วางแผนและคาดการณ์การผลิตและการบริโภคพลังงานไฟฟ้าที่ยังไม่ครอบคลุมสถานการณ์ ความเสี่ยงในอนาคต รวมถึงระบบคำนวณค่าการผลิตไฟฟ้าส่วนเกิน อาจทำให้คนไทยต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายจากค่าไฟที่เพิ่มขึ้น

ยกระดับ “ข้อมูล” รับมือภัยพิบัติ

ยกระดับ “ข้อมูล” รับมือภัยพิบัติ

น้ำท่วม ไฟป่า ฝุ่นควัน... ปัญหาเดิม ๆ ที่วนเวียนมาไม่จบไม่สิ้นในทุกปี! สะท้อนถึงปัญหาการจัดการภัยพิบัติในรูปแบบเดิมไม่สามารถรับมือได้อีกต่อไป ถึงเวลาแล้วที่เราจะใช้ "ข้อมูล" ที่มีอยู่มาออกแบบนวัตกรรมการรับมือภัยพิบัติ ฟื้นคืนชีวิต จิตใจ และเศรษฐกิจของคนไทย

20 ปีสึนามิ : ออกแบบนโยบาย รับภัยพิบัติยุคโลกเดือด

20 ปีสึนามิ : ออกแบบนโยบาย รับภัยพิบัติยุคโลกเดือด

เหตุการณ์สึนามิ ปี 2547 เป็นจุดเริ่มต้นของระบบจัดการภัยพิบัติและเครือข่ายอาสาสมัครในไทย รวมถึงการจัดทำ พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 ผ่านเส้นทางยาวนานมาถึงวันนี้ ประเทศไทยยังคงตกอยู่ในวังวนและเผชิญความสูญเสียจากภัยพิบัติหลากรูปแบบที่รุนแรง ซับซ้อนมากขึ้นเรื่อย ๆ

คนไทยอันดับ 2 ของโลก มองโลกร้อนเป็นเรื่องไกลตัว

คนไทยอันดับ 2 ของโลก มองโลกร้อนเป็นเรื่องไกลตัว

เผยผลการสำรวจคนทั่วโลก 23% มองว่าผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นเรื่อง "ไกลตัว" ในขณะที่คนไทยติดอันดับ 2 ของโลก ประมาณ 40% ที่เห็นว่าโลกร้อนไกลตัว ส่วนที่ 1 คือ อินเดีย

เหลื่อมล้ำทางภัยพิบัติเกิดขึ้นแล้ว ไม่ต้องรอ “อนาฅต”

เหลื่อมล้ำทางภัยพิบัติเกิดขึ้นแล้ว ไม่ต้องรอ “อนาฅต”

ความหลื่อมล้ำในสังคมไทยเกิดขึ้นในหลายมิติ แม้กระทั่งการเผชิญหน้าหรือการจัดการภัยพิบัติ ที่หลายครั้งเกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์ถึงความไม่เท่าเทียมกันในแต่ละพื้นที่โดยเฉพาะพื้นที่เศรษฐกิจที่ถูกปกป้องคุ้มครองมากกว่าพื้นที่การเกษตร รวมไปถึงในแง่งบประมาณ และองค์ความรู้ในการจัดการภัยพิบัติที่ยังมีความแตกต่าง

สมุดปกแดง ลายแทงสู้ภัยพิบัติในภาวะโลกเดือด

สมุดปกแดง ลายแทงสู้ภัยพิบัติในภาวะโลกเดือด

ภัยพิบัติมีแนวโน้มเกิดมากขึ้นทั่วโลก สร้างความเสียหายรุนแรงต่อเนื่อง นำมาสู่การระดมสมองเตรียมพร้อมรับมือเพื่อป้องกันและลดความสูญเสีย ด้วยกลไกทางกฎหมาย การบริหารจัดการ และนวัตกรรมที่ปรับเปลี่ยนไปตามความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิกาศในยุคโลกเดือด

ไทยตามหลังหรือไม่? เปรียบเทียบระบบป้องกันภัยพิบัติที่รอบด้านจากรอบโลก

ไทยตามหลังหรือไม่? เปรียบเทียบระบบป้องกันภัยพิบัติที่รอบด้านจากรอบโลก

ระบบป้องกันภัยพิบัติที่ใช้กันทั่วโลกมีความแตกต่างกันไปตามบริบทของแต่ละประเทศ ซึ่งมีจุดแข็ง จุดอ่อนแตกต่างกันไป การเรียนรู้จากประสบการณ์ของประเทศจะช่วยให้ประเทศไทยสามารถเปรียบเทียบและนำมาปรับใช้ในสถานการณ์ที่เหมาะสม

ภัยพิบัติรุนแรงกระทบเศรษฐกิจหนัก หากไร้แผนรับมือ

ภัยพิบัติรุนแรงกระทบเศรษฐกิจหนัก หากไร้แผนรับมือ

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดน้ำท่วมปี 2567 กระทบเศรษฐกิจไทยอย่างต่ำ 3 หมื่นล้านบาท และอาจสูงถึง 5 หมื่นล้านบาท หากน้ำท่วมขยายขอบเขตไปยังภาคกลางและภาคใต้ แนะทุกฝ่ายวางแผนรับมือภัยพิบัติที่เสี่ยงรุนแรงมากขึ้นจากสภาพภูมิอากาศสุดขั้ว

ยกเครื่องระบบเตือนภัยพิบัติ เพื่อลดความเสียหายจากน้ำท่วมดินถล่ม

ยกเครื่องระบบเตือนภัยพิบัติ เพื่อลดความเสียหายจากน้ำท่วมดินถล่ม

การจัดตั้งศูนย์ภัยพิบัติให้มีมาตรฐาน เป็นประเด็นที่มีการพูดถึงกันมานาน โดยเฉพาะภายหลังจากเกิดภัยพิบัติขึ้น แต่ในที่สุดเรื่องก็เงียบหาย ทำให้การบริหารจัดการทำได้เพียงแค่ "ศูนย์บัญชาการเฉพาะ" แต่จากสถานการณ์โลกร้อน อาจถึงเวลาต้องกลับมาทบทวนกันอย่างจริงจัง เพราะภัยพิบัติอาจรุนแรงและเกิดบ่อยครั้ง

ทีดีอาร์ไอระดมสมองรับโลกเดือด ในยุคที่คนไทยยังเมิน

ทีดีอาร์ไอระดมสมองรับโลกเดือด ในยุคที่คนไทยยังเมิน

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบชัดเจนและรุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ จนมีการตั้งชื่อให้กับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นว่าเรากำลังก้าวสู่ "ยุคโลกเดือด" ซึ่งจากน้ำท่วมรุนแรงในภาคเหนือในปีนี้ ชี้ให้เห็นว่าผลกระทบรุนแรงและไม่อาจคาดการณ์ได้ แต่หน่วยงานของรัฐยังขาดแผนรับมืออย่างแท้จริง นอกจากแก้ปัญหาเฉพาะหน้า

อาเซียนตั้งศูนย์ความร่วมมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

อาเซียนตั้งศูนย์ความร่วมมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

กลุ่มประเทศอาเซียนได้ยกระดับเพื่อรับมือกับปัญหาโลกร้อน โดยการตั้งศูนย์อาเซียนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อสนับสนุนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศให้ประเทศสมาชิกอาเซียน

ทำไมแผนรับมือภัยพิบัติ จึงไร้ประสิทธิภาพ?

ทำไมแผนรับมือภัยพิบัติ จึงไร้ประสิทธิภาพ?

รัฐบาลใช้งบประมาณกว่าร้อยล้านบาท ในปี 65 ติดตั้งระบบเตือนเพื่อรับภัยพิบัติทั่วประเทศ แต่รายงานสหประชาชาติกลับพบว่า ชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่เสี่ยงของไทยมีเพียง 50% เท่านั้น ที่ได้รับการอบรมเตรียมการป้องกันและรู้จักการเตือนภัย ซึ่งถือเป็นปัญหาสำคัญของการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติของไทย

เรียนรู้ปัญหาจัดการน้ำในอดีต รับมือสภาพภูมิอากาศสุดขั้ว

เรียนรู้ปัญหาจัดการน้ำในอดีต รับมือสภาพภูมิอากาศสุดขั้ว

ไทยเป็นประเทศที่เจอกับภาวะภัยแล้งและน้ำท่วมทุกปี แต่การบริหารจัดการน้ำกลับยังไม่มีประสิทธิภาพ จึงถือเป็นโอกาสอันดีที่จะนำปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น มาเป็นบทเรียนแก้ไขรับมือภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ท่ามกลางความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่จะรุนแรงมากขึ้น

ลานีญาเต็มตัวปลายปี ทุกภูมิภาคเสี่ยงน้ำท่วม

ลานีญาเต็มตัวปลายปี ทุกภูมิภาคเสี่ยงน้ำท่วม

ไทยอาจเผชิญความเสี่ยงจากน้ำท่วมมากขึ้นในหลายภูมิภาค ในช่วง 4 เดือน สุดท้ายของปี 67 จากการเข้าสู่ภาวะลานีญาเต็มตัว แต่ไม่รุนแรงเท่าปี 54 วิจัยกรุงศรีคาดกระทบเศรษฐกิจ 4.65 หมื่นล้านบาท

บริหารจัดการน้ำ สร้างความเข้มแข็งให้กับพื้นที่ได้มีส่วนร่วม

บริหารจัดการน้ำ สร้างความเข้มแข็งให้กับพื้นที่ได้มีส่วนร่วม

ปัญหาภัยแล้ง น้ำท่วม คือวิกฤตที่คนไทยเผชิญต่อเนื่องทุกปี ทำให้สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ได้จัดเวทีระดมข้อคิดเห็น สรุปออกมาเป็นมติรายงานการพัฒนานโยบายสาธารณะ เรื่องการส่งเสริมความเข้มแข็งกลไกการบริหารจัดการน้ำเชิงพื้นที่ ด้วยการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลไกของพื้นที่ในการร่วมกันวางแผน