ThaiPBS Logo

แท็ก: ภัยพิบัติ

บทความ

ภัยพิบัติรุนแรงกระทบเศรษฐกิจหนัก หากไร้แผนรับมือ

ภัยพิบัติรุนแรงกระทบเศรษฐกิจหนัก หากไร้แผนรับมือ

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดน้ำท่วมปี 2567 กระทบเศรษฐกิจไทยอย่างต่ำ 3 หมื่นล้านบาท และอาจสูงถึง 5 หมื่นล้านบาท หากน้ำท่วมขยายขอบเขตไปยังภาคกลางและภาคใต้ แนะทุกฝ่ายวางแผนรับมือภัยพิบัติที่เสี่ยงรุนแรงมากขึ้นจากสภาพภูมิอากาศสุดขั้ว

ยกเครื่องระบบเตือนภัยพิบัติ เพื่อลดความเสียหายจากน้ำท่วมดินถล่ม

ยกเครื่องระบบเตือนภัยพิบัติ เพื่อลดความเสียหายจากน้ำท่วมดินถล่ม

การจัดตั้งศูนย์ภัยพิบัติให้มีมาตรฐาน เป็นประเด็นที่มีการพูดถึงกันมานาน โดยเฉพาะภายหลังจากเกิดภัยพิบัติขึ้น แต่ในที่สุดเรื่องก็เงียบหาย ทำให้การบริหารจัดการทำได้เพียงแค่ "ศูนย์บัญชาการเฉพาะ" แต่จากสถานการณ์โลกร้อน อาจถึงเวลาต้องกลับมาทบทวนกันอย่างจริงจัง เพราะภัยพิบัติอาจรุนแรงและเกิดบ่อยครั้ง

ทีดีอาร์ไอระดมสมองรับโลกเดือด ในยุคที่คนไทยยังเมิน

ทีดีอาร์ไอระดมสมองรับโลกเดือด ในยุคที่คนไทยยังเมิน

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบชัดเจนและรุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ จนมีการตั้งชื่อให้กับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นว่าเรากำลังก้าวสู่ "ยุคโลกเดือด" ซึ่งจากน้ำท่วมรุนแรงในภาคเหนือในปีนี้ ชี้ให้เห็นว่าผลกระทบรุนแรงและไม่อาจคาดการณ์ได้ แต่หน่วยงานของรัฐยังขาดแผนรับมืออย่างแท้จริง นอกจากแก้ปัญหาเฉพาะหน้า

อาเซียนตั้งศูนย์ความร่วมมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

อาเซียนตั้งศูนย์ความร่วมมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

กลุ่มประเทศอาเซียนได้ยกระดับเพื่อรับมือกับปัญหาโลกร้อน โดยการตั้งศูนย์อาเซียนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อสนับสนุนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศให้ประเทศสมาชิกอาเซียน

ทำไมแผนรับมือภัยพิบัติ จึงไร้ประสิทธิภาพ?

ทำไมแผนรับมือภัยพิบัติ จึงไร้ประสิทธิภาพ?

รัฐบาลใช้งบประมาณกว่าร้อยล้านบาท ในปี 65 ติดตั้งระบบเตือนเพื่อรับภัยพิบัติทั่วประเทศ แต่รายงานสหประชาชาติกลับพบว่า ชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่เสี่ยงของไทยมีเพียง 50% เท่านั้น ที่ได้รับการอบรมเตรียมการป้องกันและรู้จักการเตือนภัย ซึ่งถือเป็นปัญหาสำคัญของการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติของไทย

เรียนรู้ปัญหาจัดการน้ำในอดีต รับมือสภาพภูมิอากาศสุดขั้ว

เรียนรู้ปัญหาจัดการน้ำในอดีต รับมือสภาพภูมิอากาศสุดขั้ว

ไทยเป็นประเทศที่เจอกับภาวะภัยแล้งและน้ำท่วมทุกปี แต่การบริหารจัดการน้ำกลับยังไม่มีประสิทธิภาพ จึงถือเป็นโอกาสอันดีที่จะนำปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น มาเป็นบทเรียนแก้ไขรับมือภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ท่ามกลางความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่จะรุนแรงมากขึ้น

ลานีญาเต็มตัวปลายปี ทุกภูมิภาคเสี่ยงน้ำท่วม

ลานีญาเต็มตัวปลายปี ทุกภูมิภาคเสี่ยงน้ำท่วม

ไทยอาจเผชิญความเสี่ยงจากน้ำท่วมมากขึ้นในหลายภูมิภาค ในช่วง 4 เดือน สุดท้ายของปี 67 จากการเข้าสู่ภาวะลานีญาเต็มตัว แต่ไม่รุนแรงเท่าปี 54 วิจัยกรุงศรีคาดกระทบเศรษฐกิจ 4.65 หมื่นล้านบาท

บริหารจัดการน้ำ สร้างความเข้มแข็งให้กับพื้นที่ได้มีส่วนร่วม

บริหารจัดการน้ำ สร้างความเข้มแข็งให้กับพื้นที่ได้มีส่วนร่วม

ปัญหาภัยแล้ง น้ำท่วม คือวิกฤตที่คนไทยเผชิญต่อเนื่องทุกปี ทำให้สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ได้จัดเวทีระดมข้อคิดเห็น สรุปออกมาเป็นมติรายงานการพัฒนานโยบายสาธารณะ เรื่องการส่งเสริมความเข้มแข็งกลไกการบริหารจัดการน้ำเชิงพื้นที่ ด้วยการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลไกของพื้นที่ในการร่วมกันวางแผน