กองทุนประกันสังคมกำลังถึงจุดเปลี่ยนสำคัญ เมื่อสังคมไทยกำลังก้าวสู่ "สังคมสูงอายุระดับสุดยอด" ทำให้จำเป็นต้องมีการปรับการบริหารจัดการเพื่อรองรับผู้สูงอายุที่เกษียณจากการทำงาน ซึ่งทำให้กองทุนมีภาระต้องจ่ายเงินบำนาญมากขึ้นและอาจเกิดปัญหาสภาพคล่องทางการเงินจนกระทบหลักประกันคนทำงานส่วนใหญ่ของประเทศ
อัตราการเกิดของไทยลดลงเรื่อย ๆ ทำให้จำนวนการเกิดของเด็กลดน้อยลง แต่ผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้ประเทศไทยกำลังเผชิญกับความท้าทายสำคัญทั้งในมิติเศรษฐกิจ สังคม ในอนาคต หากไม่มีมาตรการรองรับอย่างจริงจัง
สถิติตัวเลขผู้มีงานทำของคนไทยราว 40 ล้านคน แต่เมื่อจำแนกออกมา จะพบว่าส่วนใหญ่ ทั้งนายจ้างและลูกจ้างกระจุกตัวอยู่ในกลุ่มการค้า บริการและท่องเที่ยว จึงไม่น่าแปลกใจที่เศรษฐกิจไทยจะมีความอ่อนไหวอย่างมากจากสถานการณ์ภายนอกและภาคในประเทศที่ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่น
ประชากรสูงวัยมีเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ก่อนจะเข้าสู่สังคมสูงวัยขั้นสุดยอดในอีก 5 ปีข้างหน้า รัฐบาลต้องเร่งหามาตรการรับมืออย่างจริงจัง เพราะรายได้ภาครัฐกำลังลดลงจากวัยคนทำงานลดลง ขณะที่รายง่ายด้านสวัสดิการที่รัฐจัดหาให้ต้องใช้งบประมาณเพิ่มขึ้นอย่างมาก
"แซนด์วิช เจเนอเรชั่น" เป็นปรากฏการณ์สังคมยุคใหม่ ที่มีคนหนึ่งในครอบครัว ต้องรับผิดชอบและดูแล ทั้งลูกและผู้สูงอายุ คาดครอบครัวคนไทยเกือบ 4 ล้านครอบครัวเจอปัญหานี้ ส่วนมากเป็นแรงงานนอกระบบ การศึกต่ำ และรายได้น้อย ทำให้ฐานการเงินมีความเปราะบางและสุขภาพย่ำแย่จากการทำงานหนักขึ้น
คาดการณ์ธุรกิจร้านขายในปี 67 จะเติบโต และการแข่งขันมีแนวโน้มรุนแรง จากการเร่งขยาย ท่ามกลางผู้สูงอายุในไทยที่มีแต่เพิ่มมากขึ้น และมีความเสี่ยงด้านสุขภาพ
คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนสวัสดิการโดยรัฐ ปรับขี้นเบี้ยผู้สูงอายุในรอบกว่า 10 ปี เป็น 1,000 บาท/เดือน และเปลี่ยนวิธีจ่ายเป็นแบบได้ทุกคนเท่ากัน ตามข้อเสนอของ กมธ.สวัสดิการสังคม ที่ไม่ให้เบี้ยผู้สูงอายุต่ำกว่าเส้นความยากจน และเพื่อรองรับไทยกำลังเข้าสู่งสังคมสูงวัยในอนาคต
"ส่งเสริมการมีบุตร" ไม่ง่ายอย่างที่คาดการณ์ไว้ แม้รัฐบาลประกาศเป็นนโยบายเกือนครึ่งปี แต่ยังไม่มีข้อมูลว่าเริ่มดำเนินการได้แค่ไหน ขณะที่ผลสำรวจแรงงานและพนักงานพบว่าเกือบ 70% ไม่มีแผนมีบุตรใน 5 ปีข้างหน้า จากสารพัดปัญหา โดยเฉพาะค่าครองชีพ
เครือข่ายประชาชนเพื่อรัฐสวัสดิการ เสนอ (ร่าง) พ.ร.บ.ผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... บนหลักการ "ถ้วนหน้าครอบคลุมทุกคน เพียงพอต่อการดำรงชีพอย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โดยอิงตามเส้นความยากจนที่ปรับทุก 3 ปี และยั่งยืน โดยมีกฎหมายบำนาญแห่งชาติมารองรับ”
สังคมสูงวัยกำลังส่งผลกระทบมากขึ้นเรื่อย คาดว่าหลังจากเข้าสู่สังคมสูงวัยขั้นสุดยอดในปี 2572 สังคมไทยจะมีกำลังแรงงานราว 58% ของประชากรทั้งประเทศ ก่อนจะลดลงเหลือ 50% ในปี 2593 หรืออีกราว 30 ปี
ในปีที่ผ่าน ประเทศไทยเข้าสู่ "สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์" และกำลังจะเข้าสู่สังคมสูงวัยระดับสุดยอด (Super-Aged Society) ในปี 2567 โดยผู้มีอายุเกิน 60 ปี จะมีสัดส่วนราว 28% หรือ 1 ใน 4 ของประชากรทั้งประเทศ
มาตรการภาครัฐที่ต้องดำเนินการ "เร่งด่วน" รองรับ "สังคมสูงวัยระดับสุดยอด" คือ ต้องออกแบบนโยบายสังคมสูงอายุที่มีประสิทธิภาพ มองก้าวข้ามแค่เรื่องเงิน ต้องยึดผู้สูงอายุเป็นศูนย์กลาง และเปิดทางให้องค์กรส่วนท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทมากขึ้น
เงินบำเหน็จบำนาญในปัจจุบัน ไม่เพียงแต่บรรดาคนที่รับราชการเท่านั้น แต่แรงงาน ทั้ง "ในระบบ-นอกระบบ" ต่างก็มีโอกาสได้รับผ่านกองทุนประกันสังคม ส่วนพนักงานรัฐวิสาหกิจนั้นไม่ต้องห่วง เพราะมีระบบสวัสดิการของตัวเองอยู่แล้ว แต่จากเงื่อนไขที่ต่างกันทำให้บำเหน็จบำนาญที่ได้รับหลังเกษียณอายุต่างกันมาก
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เสนอให้รัฐบาลเพิ่มศักยภาพทางด้านการคลัง โดยเฉพาะการหารายได้ของรัฐบาล เพื่อรองรับสวัสดิการทางสังคม รับสังคมสูงวัย โดยคาดว่าค่าใช้จ่ายเบี้ยผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้น 38%
ในการเลือกตั้งที่ผ่านมาหลายพรรคการเมืองชูนโยบายเกี่ยวกับ “รัฐสวัสดิการ” แม้ว่าแต่ละพรรคมุ่งเน้นนโยบายต่างกัน แต่ก็ชี้ให้เห็นว่า “สวัสดิการจากภาครัฐ” ได้ปักหลักอย่างมั่นคงในนโยบายของรัฐบาลนับจากนี้ไป