จับตา "Trump Effect" หลังทรัมป์สาบานตนรับตำแหน่งประธานาธิบดีสมัยที่สอง 20 ม.ค. 68 ทั้งนโยบายการค้าแบบกลับด้าน จากสงครามการค้ารอบใหม่ และนโยบายความมั่นคงท่ามกลางสถานการณ์สงครามและความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์โลก
สภาพัฒน์ประเมิน 4 แนวทางที่ 'ทรัมป์' ประธานนาธิบดีคนใหม่สหรัฐฯ ใช้เป็นช่องทางขึ้นภาษีสินค้าจีน คาดเริ่มมีผลใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 6 เดือน เผยในอดีตสงครามการค้าหนุนสหรัฐฯนำเข้าสินค้าไทยมากขึ้น แต่ไทยก็นำเข้าสินค้าจีนมากขึ้นเช่นกัน
ผลกระทบจากนโยบายของโดนัลด์ ทรัมป์ มีการวิเคราะห์ในหลายด้าน แต่ล่าสุด EIC ธนาคารไทยพาณิชย์ ได้ประเมินผลกระทบทั้งเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยอย่างรอบด้าน ชี้ให้เห็นว่าเศรษฐกิจไทยจะชะลอตัวกว่าที่ประเมินไว้ หากสหรัฐฯเปิดสงครามการค้าอย่างดุเดือด ซึ่งคนไทยเคยเจอมาแล้วในสงครามการค้าครั้งก่อน
ไทยต้องเผชิญกับสงครามการค้าระหว่างสหรัฐฯ-จีน ขึ้นกับความรุนแรงของการกีดกันการค้าหลังเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ คาดว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ ยังขยายตัวภายใต้ความไม่แน่นอนด้านนโยบาย แต่ทั่วโลกจะได้รับผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ที่จะมีขึ้น 5 พ.ย. 67 เป็นตัวแปรที่กำหนดทิศทางนโยบายของสหรัฐฯ ในอีก 4 ปีข้างหน้า ซึ่งจะส่งผลต่อไปยังแนวโน้มเศรษฐกิจสหรัฐฯ รวมถึงเศรษฐกิจโลก
จับตาบทบาทกลุ่ม BRICS หลังปฏิญญาคาซาน (Kazan Declaration) ที่ไทยเข้าร่วมเป็นสมาชิก รวม 22 ประเทศ มีประชากรเกินครึ่งของประชากรโลก ขนาดเศรษฐกิจใหญ่ไล่จี้กลุ่ม G7
การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯกำลังถูกจับตา เพราะนโยบายทั้งพรรคพับลิกันและพรรคเดโมแครตมีแนวโน้มกีดกันการค้ามากขึ้น ท่ามกลางความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ แต่นโยบาย 'ทรัมป์' จะมีระดับความแรงมากกว่าคู่แข่ง โดยเฉพาะการขึ้นภาษีสินค้าจีน 60% ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนของไทยอย่างมีนัยสำคัญ
เลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ 5 พ.ย.นี้ จะกระทบอาเซียนและไทยอย่างไร เมื่อนโยบายของทรัมป์อาจดันให้เงินเฟ้อพุ่งสูงขึ้น ด้านนโยบายของแฮร์ริสกลับเน้นเป้าหมายชัดเจนกว่า แต่ไม่ว่าใครจะชนะ ก็ต้องเผชิญกับปัญหาหนี้สินเรื้อรังของสหรัฐฯ
การเลือกตั้งสหรัฐฯที่จะกำลังจะเกิดขึ้นในเดือน พ.ย.นี้ จะเป็นตัวกำหนดทิศทางเศรษฐกิจการเมืองโลกอีกครั้ง เมื่อ "โดนัลด์ ทรัมป์" กลับมาชิงตำแหน่งประธานาธิบดี เพราะหากเขาชนะเลือกตั้งก็เชื่อว่านโยบายสหรัฐฯจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากในหลายเรื่อง และจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจการเมืองโลก รวมถึงไทย
ปัจจัยพื้นฐานในประเทศที่เปราะบางกว่าในอดีต เตรียมรับความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนสูง ทั้งการเมืองในประเทศ เศรษฐกิจโลกและความขัดแย้งภูมิรัฐศาสตร์ ประเมินแนวโน้มค่าเงินบาทถึงสิ้นปี 2567 ผันผวนมากขึ้น หลังครึ่งปีแรกอ่อนค่าสุดในเอเชีย
สหรัฐ-จีน เปิดสงครามการค้ารอบใหม่ ท่ามกลางสถานการณ์ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์โลกยังรุนแรง คาดหากสหรัฐลดการนำเข้าจากจีน อาเซียนจะได้ประโยชน์ แต่ไทยได้ประโยชน์น้อยสุดในอาเซียน