ThaiPBS Logo

แท็ก: โลกร้อน

นโยบายภาคการเมือง

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

  • เริ่มนโยบาย
  • วางแผน
  • ตัดสินใจ
  • ดำเนินงาน
  • ประเมินผล

ความสำเร็จของนโยบาย

ภาคพลังงาน
เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การปรับเปลี่ยนรูปแบบการขนส่ง รวมถึงการเตรียมการยกเลิกผลิตพลังงานโดยใช้เชื้อเพลิงถ่านหิน ภายในปี ค.ศ. 2050 ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในด้านพลังงานได้ร้อยละ 15
ภาคการเกษตร
นำร่องปรับเปลี่ยนวิธีการทำนาแบบปัจจุบันไปสู่การทำนาที่ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ยั่งยืน มีประสิทธิภาพ เพิ่มผลผลิต มุ่งเน้นการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจ BCG เพื่อพัฒนาสังคมแบบองค์รวม โดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง พร้อมทั้งเพิ่มคุณค่าให้กับความหลากหลายทางชีวภาพ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และเศรษฐกิจที่เน้นนวัตกรรม ผ่านการเพิ่มประสิทธิภาพของทรัพยากรหมุนเวียนและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างยั่งยืน

บทความ

ปล่อยก๊าซ CO2 ทั่วโลกพุ่ง ท้าทายเป้าหมาย Net Zero

ปล่อยก๊าซ CO2 ทั่วโลกพุ่ง ท้าทายเป้าหมาย Net Zero

ในปี 67 มั่วโลกยังปล่อยก๊าซ CO2 สู่ชั้นบรรยากาศเพิ่มขึ้น แม้จะเผชิญกับสถานการณ์อุณหภูมิโลกสูงขึ้น และมีความพยายามจากหลายประเทศในการลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก แต่การปล่อย CO2 ทั่วโลกยังคงเพิ่มขึ้น ยังเป็นเรื่องท้าทาย Net Zero

โลกเริ่มต้นปี 68 ด้วยอุณหภูมิเดือนม.ค. “ร้อนทุบสถิติ”

โลกเริ่มต้นปี 68 ด้วยอุณหภูมิเดือนม.ค. “ร้อนทุบสถิติ”

เดือนมกราคม 2568 นับเป็นเดือนมกราคมที่ร้อนที่สุดเป็นประวัติการณ์ โดยยังคงเป็นช่วงที่มีอุณหภูมิสูงสุดอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าสภาพอากาศได้เปลี่ยนเข้าสู่ภาวะลานีญา (La Nina) ที่มักทำให้อากาศเย็นลง ขณะที่ผืนน้ำแข็งในทะเลอาร์กติกลดลง

คำศัพท์น่ารู้ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

คำศัพท์น่ารู้ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

"การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ" กำลังส่งผลต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น ดังนั้น การทำความเข้าใจคำศัพท์ที่ได้ยินได้ฟังในชีวิตประจำวันเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อป้องกันการเข้าใจผิด ซึ่งหากเรามีความเข้าใจ ก็จะทำให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและนำไปสู่การรับมือที่ถูกต้อง

“เปิบข้าว” บทเพลงชีวิตชาวนากับความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ : นโยบายรัฐบาล คือ เงื่อนไขแห่งความอยู่รอด

“เปิบข้าว” บทเพลงชีวิตชาวนากับความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ : นโยบายรัฐบาล คือ เงื่อนไขแห่งความอยู่รอด

8 เหตุการณ์ที่คนทั่วโลกโหวต คาดว่าจะเกิดในปี 68

8 เหตุการณ์ที่คนทั่วโลกโหวต คาดว่าจะเกิดในปี 68

ในปีที่ผ่านมา มีหลายสิ่งหลายอย่างบนโลกเกิดขึ้น และเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว อีกทั้งมีหลายอย่างเกิดขึ้นอย่างไม่คาดคิด และสิ่งที่เกิดขึ้นในปีที่ผ่านมา ทำให้คนทั่วโลกคาดการณ์สิ่งที่จะตามมาในปีนี้ โดยผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เป็นสิ่งที่คนกังวลมากที่สุด

คนไทยอันดับ 2 ของโลก มองโลกร้อนเป็นเรื่องไกลตัว

คนไทยอันดับ 2 ของโลก มองโลกร้อนเป็นเรื่องไกลตัว

เผยผลการสำรวจคนทั่วโลก 23% มองว่าผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นเรื่อง "ไกลตัว" ในขณะที่คนไทยติดอันดับ 2 ของโลก ประมาณ 40% ที่เห็นว่าโลกร้อนไกลตัว ส่วนที่ 1 คือ อินเดีย

สมุดปกแดง ลายแทงสู้ภัยพิบัติในภาวะโลกเดือด

สมุดปกแดง ลายแทงสู้ภัยพิบัติในภาวะโลกเดือด

ภัยพิบัติมีแนวโน้มเกิดมากขึ้นทั่วโลก สร้างความเสียหายรุนแรงต่อเนื่อง นำมาสู่การระดมสมองเตรียมพร้อมรับมือเพื่อป้องกันและลดความสูญเสีย ด้วยกลไกทางกฎหมาย การบริหารจัดการ และนวัตกรรมที่ปรับเปลี่ยนไปตามความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิกาศในยุคโลกเดือด

ลดปล่อยก๊าซแบบสมัครใจ ต้นตอตลาดคาร์บอนเครดิตซบ

ลดปล่อยก๊าซแบบสมัครใจ ต้นตอตลาดคาร์บอนเครดิตซบ

ไทยตั้งเป้าลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก 30-40% ภายในปี 2573 แต่ตลาดซื้อขายคาร์บอนเครดิตที่จูงใจทุกภาคส่วนลดปล่อยก๊าซฯ กลับมีปริมาณซื้อขายลดลงทุกปี เนื่องจากการลดก๊าซฯของไทยยังเป็นแบบภาคสมัครใจ ทำให้คาร์บอนเครดิตขาดแรงจูงใจจากผู้ซื้อ 

สทนช.เปิดแผนป้องกัน หวังแก้น้ำท่วมใต้ซ้ำซาก

สทนช.เปิดแผนป้องกัน หวังแก้น้ำท่วมใต้ซ้ำซาก

สทนช.เผยโครงการป้องกันน้ำท่วมในพื้นที่ภาคใต้ ทั้งการระบบป้องกันและขยายพื้นที่กักเก็บ เพื่อลดผลกระทบ แต่จากสถานการณ์น้ำท่วมในปีนี้ ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อาจเป็นเรื่องท้าทายอีกครั้งว่าโครงการดังกล่าวจะเพียงพอหรือไม่

ไทยต้องลด 30-40% ตามมาตรการลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก

ไทยต้องลด 30-40% ตามมาตรการลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก

เปิดแผนลดการปล่อยก๊าซเรือนกระแจกของไทย ตั้งเป้าลดปล่อยก๊าซ 30-40% ภายในปี 2573 พุ่งเป้า 5 สาขาหลัก ที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูง คือ สาขาพลังงาน สาขาคมนาคมขนส่ง สาขาการจัดการของเสียชุมชนและน้ำเสียอุตสาหกรรม กระบวนการทางอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์ และ สาขาเกษตร

3 เหตุผลไทยต้องเร่งปรับตัว รับโลกร้อน “ให้ทันการณ์”

3 เหตุผลไทยต้องเร่งปรับตัว รับโลกร้อน “ให้ทันการณ์”

3 เหตุผลว่าทำไมไทยต้องเร่งปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ธุรกิจไทยปรับยาก ไทยเปราะบางติด 1 ใน 10 และเอสเอ็มอีเป็นรากฐานสำคัญเศรษฐกิจไม่พร้อมปรับเปลี่ยน แนะทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันปรับตัว ไม่อาจพึ่งพาส่วนใดส่วนหนึ่งได้ เป็นเรื่องใหญ่เกินกำลังที่จะทำเพียงลำพัง

เกษตรเสียหาย 3.54 ล้านไร่ จากอุทกภัยปี 67

เกษตรเสียหาย 3.54 ล้านไร่ จากอุทกภัยปี 67

ช่วงสุดท้ายสภานการณ์น้ำท่วมปี 67 เสียหายแล้วกว่า 3 ล้านไร่ มูลค่ากว่า 2 พันล้านบาท จังหวัดที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดคือเชียงราย สศช.แนะรัฐบาลเร่งเตรียมความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในเรื่องบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ เพิ่มประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐานและระบบการเตือนภัย

วิกฤตธรรมชาติเสี่ยงกระทบธุรกิจรุนแรงในระยะยาว

วิกฤตธรรมชาติเสี่ยงกระทบธุรกิจรุนแรงในระยะยาว

วิกฤตทางธรรมชาติและระบบนิเวศเริ่มมีความรุนแรงมากขึ้นในโลกยุคโลกเดือด จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อธุรกิจที่พึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติเป็นหลักอย่างรุนแรงในระยะยาวได้ หากไม่ช่วยกันรักษาความหลากหลายทางชีวภาพอย่างจริงจัง

COP29 ผลักดันพลังงานสะอาด สร้างตลาด “ไฮโดรเจน”

COP29 ผลักดันพลังงานสะอาด สร้างตลาด “ไฮโดรเจน”

การประชุม COP29 ยังเผชิญกับความท้าทายว่าจะประสบความสำเร็จแค่ไหน จากการเปลี่ยนแปลงการเมืองในประเทศพัฒนาแล้ว แต่ก็ก็คาดว่าจะมีความคืบหน้าในการกำหนดเป้าหมายทางการเงิน เพื่อช่วยเหลือประเทศกำลังพัฒนา และคาดว่าจะผลักดันด้านพลังงานไฮโดรเจน

2567: จุดเปลี่ยนโลก เมื่ออุณหภูมิร้อนทุบสถิติใหม่

2567: จุดเปลี่ยนโลก เมื่ออุณหภูมิร้อนทุบสถิติใหม่

ชัยชนะของโดนัลด์ ทรัมป์ ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ทำให้เกิดความกังวลว่านโยบายของสหรัฐจะไปขัดขวางความพยามของหลายประเทศทั่วโลกในการ่วมกันแก้ปัญหาโลกร้อน แต่ไม่ว่าทรัมป์จะดำเนินนโยบายอย่างไร อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกในปี 67 อาจข้ามจุดเปลี่ยนสำคัญ เมื่ออุณภูมิเฉลี่ยสูงกว่าก่อนยุคอุตสาหกรรม 1.5 °C

โลกเดือด-มาตรการการค้าเข้ม ภาคเกษตรเจอผลกระทบหนัก

โลกเดือด-มาตรการการค้าเข้ม ภาคเกษตรเจอผลกระทบหนัก

โลกเดือด หรือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะมาเร็วขึ้น คาดว่าในปี 2570 อุณหภูมิโลกจะแตะระดับ 1.5 องศาเหนือระดับก่อนยุคอุตสาหกรรม ทำให้ส่งผลกระทบรุนแรงและบ่อยขึ้น แต่ในแง่การค้าขาย จะได้รับผลกระทบมากขึ้นจากมาตรการต่าง ๆ ที่จะออกมาแก้ปัญหาโลกร้อน

ภัยพิบัติรุนแรงกระทบเศรษฐกิจหนัก หากไร้แผนรับมือ

ภัยพิบัติรุนแรงกระทบเศรษฐกิจหนัก หากไร้แผนรับมือ

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดน้ำท่วมปี 2567 กระทบเศรษฐกิจไทยอย่างต่ำ 3 หมื่นล้านบาท และอาจสูงถึง 5 หมื่นล้านบาท หากน้ำท่วมขยายขอบเขตไปยังภาคกลางและภาคใต้ แนะทุกฝ่ายวางแผนรับมือภัยพิบัติที่เสี่ยงรุนแรงมากขึ้นจากสภาพภูมิอากาศสุดขั้ว

ยกเครื่องระบบเตือนภัยพิบัติ เพื่อลดความเสียหายจากน้ำท่วมดินถล่ม

ยกเครื่องระบบเตือนภัยพิบัติ เพื่อลดความเสียหายจากน้ำท่วมดินถล่ม

การจัดตั้งศูนย์ภัยพิบัติให้มีมาตรฐาน เป็นประเด็นที่มีการพูดถึงกันมานาน โดยเฉพาะภายหลังจากเกิดภัยพิบัติขึ้น แต่ในที่สุดเรื่องก็เงียบหาย ทำให้การบริหารจัดการทำได้เพียงแค่ "ศูนย์บัญชาการเฉพาะ" แต่จากสถานการณ์โลกร้อน อาจถึงเวลาต้องกลับมาทบทวนกันอย่างจริงจัง เพราะภัยพิบัติอาจรุนแรงและเกิดบ่อยครั้ง

ทีดีอาร์ไอระดมสมองรับโลกเดือด ในยุคที่คนไทยยังเมิน

ทีดีอาร์ไอระดมสมองรับโลกเดือด ในยุคที่คนไทยยังเมิน

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบชัดเจนและรุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ จนมีการตั้งชื่อให้กับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นว่าเรากำลังก้าวสู่ "ยุคโลกเดือด" ซึ่งจากน้ำท่วมรุนแรงในภาคเหนือในปีนี้ ชี้ให้เห็นว่าผลกระทบรุนแรงและไม่อาจคาดการณ์ได้ แต่หน่วยงานของรัฐยังขาดแผนรับมืออย่างแท้จริง นอกจากแก้ปัญหาเฉพาะหน้า

อาเซียนตั้งศูนย์ความร่วมมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

อาเซียนตั้งศูนย์ความร่วมมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

กลุ่มประเทศอาเซียนได้ยกระดับเพื่อรับมือกับปัญหาโลกร้อน โดยการตั้งศูนย์อาเซียนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อสนับสนุนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศให้ประเทศสมาชิกอาเซียน

ลดก๊าซเรือนกระจก “ต้องทำจริง” ก่อนตกขบวนการค้าโลก

ลดก๊าซเรือนกระจก “ต้องทำจริง” ก่อนตกขบวนการค้าโลก

ลดก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ภายในปี 2065 แม้จะยังช้ากว่าประชาคมโลกอยู่หลายปี แต่รัฐบาลจะต้องดำเนินการอย่างจริงจัง ก่อนถูกกีดกันทางการค้าโลก เนื่องจากประเทศที่มีเป้า Net zero มีแนวโน้มเลือกทำการค้ากับประเทศที่มีเป้า Net zero ใกล้เคียงกัน

ดัชนีลดก๊าซเรือนกระจกธุรกิจใหญ่แย่ ปตท.คะแนนต่ำเรื่องเป็นธรรม

ดัชนีลดก๊าซเรือนกระจกธุรกิจใหญ่แย่ ปตท.คะแนนต่ำเรื่องเป็นธรรม

งานวิจัยพบว่า 462 บริษัททรงอิทธิพลทั่วโลก มีประสิทธิภาพลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้เพียง 24% จากคะแนนวัดผลของ WBA (World Benchmarking Alliance) และการเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรมของบริษัทเหล่านี้ยังอยู่ในเกณฑ์ที่ต่ำ ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่กำลังเป็นปัญหาทั่วโลก

เตือน (อีกครั้ง) น้ำจะท่วมกรุง จากผลกระทบโลกเดือด

เตือน (อีกครั้ง) น้ำจะท่วมกรุง จากผลกระทบโลกเดือด

เปลี่ยนรัฐบาลมาหลายชุด แต่ยังไม่มีรัฐบาลไหนให้ความสนใจผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างจริงจัง โดยเฉพาะการคาดการณ์ว่ากรุงเทพมหานครจะได้รับผลกระทบติด 1 ใน 10 ของเมืองที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดจากน้ำท่วม เมื่อกรุงเทพฯเสี่ยงจมน้ำ และ “โลกเดือด” ไม่ใช่แค่วลีสนุกปาก

เอลนีโญฉุดผลผลิตเกษตร สัญญาณเตือนจากโลกร้อน

เอลนีโญฉุดผลผลิตเกษตร สัญญาณเตือนจากโลกร้อน

สัญญาณเตือนกระทบจากเอลนีโญ ผลผลิตภาคเกษตรที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศลดลงถ้วนหน้า ทั้งสาขาพืชและประมง ส่งผลให้จีดีพีไตรมาส 2 ปี 2567 ติดลบ แต่คาดว่าครึ่งปีหลังดีขึ้นจากเอลนีโญสิ้นสุดลง

จริงหรือ? ทส.รายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมดีขึ้น

จริงหรือ? ทส.รายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมดีขึ้น

การรับรู้ของคนทั่วไปเกี่ยวกับสถานการณ์สิ่งแวดล้อมเลวร้ายลงทุกปี แต่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมของไทยในปีที่ผ่านมา กลับระบุว่าดีขึ้นและทรงตัว ไม่มีด้านใดที่เลวร้ายลง

กลไกคาร์บอนเครดิตร่วม ระหว่างรัฐบาลไทย-ญี่ปุ่น

กลไกคาร์บอนเครดิตร่วม ระหว่างรัฐบาลไทย-ญี่ปุ่น

ครม.ไฟเขียวร่างบันทึกว่าด้วย "กลไกเครดิตร่วม" ระหว่างรัฐบาลไทย-ญี่ปุ่น หลังดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2558 โดยไทยได้รับการสนับสนุนทางการเงิน ในขณะที่ต้องโอนคาร์บอนเครดิตให้กับญี่ปุ่น 50%

ไทยต้องลดใช้ก๊าซ มุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน

ไทยต้องลดใช้ก๊าซ มุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน

ประเทศไทยเดินหน้ามุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน โดยลดจัดหาเชื้อเพลิงฟอสซิลในแผน PDP 2024 หันมากเพิ่มสัดส่วนพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น ผู้เชี่ยวชาญชี้ก๊าซธรรมชาติที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้าจะต้องลดลงเหลือน้อยกว่า 20% ในค.ศ. 2050 หรือ พ.ศ 2593

Fast Fashion เรื่องใกล้ตัว มหันตภัยต่อสิ่งแวดล้อม

Fast Fashion เรื่องใกล้ตัว มหันตภัยต่อสิ่งแวดล้อม

การผลิตเสื้อก็มีส่วนทำลายธรรมชาติ พบปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในสัดส่วน 6-8% ของทั้งโลก จากกระบวนการผลิตตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ และคาดว่าการเจริญเติบโตของฟาสแฟชั่น จะมีเสื้อผ้าถูกทิ้ง 134 ล้านตันต่อปีภายในสิ้นทศวรรษนี้

รู้จัก “คาร์บอนเครดิต” จูงใจเอกชนร่วมลดโลกเดือด

รู้จัก “คาร์บอนเครดิต” จูงใจเอกชนร่วมลดโลกเดือด

ทำความรู้จัก คาร์บอนเครดิต กลไกที่จะดึงภาคเอกชนร่วมให้ปรับเปลี่ยนการดำเนินธุกิจที่ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อบรรเทาสภาวะโลกร้อนให้ดีขึ้นในอนาคต

ทำโครงการคาร์บอนเครดิตไทย ต้องลงทุนอะไรบ้าง

ทำโครงการคาร์บอนเครดิตไทย ต้องลงทุนอะไรบ้าง

คาร์บอนเครดิตสามารถนำไปซื้อขายแลกเปลี่ยนได้ อาจสร้างรายได้และกำไรให้กับธุรกิจ แต่การสะสมคาร์บอนเครดิตจะต้องมาจากโครงการคาร์บอนเครดิตที่ได้รับการรับรองจาก T-VER โดยจะมีต้นทุนในการดำเนินการ ประเมิน และรับรองคาร์บอนเครดิต

สภาพอากาศแปรปรวนจาก”เอนโซ่” ผลผลิตข้าวลดลง

สภาพอากาศแปรปรวนจาก”เอนโซ่” ผลผลิตข้าวลดลง

จาก”เอลนีโญ” สู่ “ลานีญา” จับตาสภาพอากาศช่วงเปลี่ยนผ่าน

จาก”เอลนีโญ” สู่ “ลานีญา” จับตาสภาพอากาศช่วงเปลี่ยนผ่าน

สภาพอากาศของประเทศไทยกำลังเข้าสู่ช่วงเปลี่ยนผ่าน จากเอลนีโญ ไปสู่ลานีญา หรือเรียกว่า "เอนโซ่" คาดว่าสภาพอากาศยังร้อนกว่าค่าเฉลี่ยเมื่อครั้งเจอปรากฏการณ์เอลนีโญรุนแรง และอาจจะเผชิญกับน้ำท่วม จากปริมาณฝนมากกว่าปกติ

เป็นไปได้แค่ไหน? ก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ในปี 2065

เป็นไปได้แค่ไหน? ก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ในปี 2065

ร่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่รัฐบาลไทยกำลังจะผลักดันออกมา อย่างน้อยคาดว่าจะเสนอครม.กลางปีนี้ คาดจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ภาคอุตสาหกรรมและการดำรงชีวิตของคนเราในชีวิตประจำวัน เพราะเราต่างมีราคาที่ต้องจ่าย หากต้องบรรเป้าหมายแก้ปัญหาโลกร้อน

ไทยต้องเตรียมรับมือ สภาพอากาศสุดขั้ว

ไทยต้องเตรียมรับมือ สภาพอากาศสุดขั้ว

จากสภาพอากาศร้อนอบอ้าวในปีนี้ เป็นผลจากคลื่นความร้อนกระหน่ำเอเชียในหลายประเทศ จึงเป็นสัญญาณเตือนว่า "สภาพอากาศสุดขั้ว" ไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป ทั้งภัยแล้ง ไฟป่า น้ำท่วมและพายุ อาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา แต่คำถามก็คือ ไทยมีแผนรองรับเรื่องเหล่านี้แค่ไหน

สิ่งที่รัฐบาลควรทำ คือ เร่งรับมือผลกระทบโลกร้อน

สิ่งที่รัฐบาลควรทำ คือ เร่งรับมือผลกระทบโลกร้อน

การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่รวดเร็วเป็นปัจจัยหลักให้โลกอุณภูมิร้อนขึ้น และส่งผลกระทบทั่วโลกในหลายด้าน โดยเฉพาะประเทศไทยที่มีพื้นที่ติดชายทะเลและเสี่ยงต่อน้ำท่วม ธนาคารโลกคาดหากไทยไม่เตรียมรับมืออาจทำให้เศรษฐกิจถดถอย 20-30% ภายในปี 2593

เพิ่มอำนาจหน้าที่บอร์ดกนภ. ออกเกณฑ์คาร์บอนเครดิต

เพิ่มอำนาจหน้าที่บอร์ดกนภ. ออกเกณฑ์คาร์บอนเครดิต

คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการ ร่างระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตามที่กระทรวงทรัพยากรฯ เสนอ ตามการปรับโครงสร้างใหม่ ตั้ง "กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม" และเพิ่มอำนาจหน้าที่บอร์ดกนภ. ในการออกเกณฑ์และวิธีการจัดการคาร์บอนเครดิต

เปลี่ยนผ่านสู่ความยั่งยืน ความท้าทายธุรกิจโรงแรมไทย

เปลี่ยนผ่านสู่ความยั่งยืน ความท้าทายธุรกิจโรงแรมไทย

โรงแรมไทยกำลังปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงกว่าค่าเฉลี่ยในภูมิภาคเอเชีย ท่ามกลางกระแสแก้ปัญหาโลกร้อนในหลายประเทศ แม้ไม่ได้มีกฎกติกาบังคับให้โรงแรมต้องเปลี่ยนแปลงแนวทางการดำเนินงาน แต่ก็มีแรงการกระตุ้นในทางอ้อมที่มาจากความต้องการของกลุ่มลูกค้า ซึ่งถือเป็นความท้าทายของธุรกิจ

โลกร้อนทุบสถิติ เกิน 1.5 องศาก่อนยุคอุตฯนาน 12 เดือน

โลกร้อนทุบสถิติ เกิน 1.5 องศาก่อนยุคอุตฯนาน 12 เดือน

โลกร้อนทุบสถิติ อุณหภูมิพื้นผิวโลกในเดือนม.ค. 2567 เป็นเดือนที่ร้อนที่สุดตั้งแต่มีการบันทึก สูงกว่ายุคก่อนอุตสาหกรรม 1.5°C เป็นเวลา 12 เดือน กรีนพีซเรียกร้องลดปล่อยแก๊สเรือนกระจากทันที โดยเฉพาะบริษัทน้ำมันยักษ์ใหญ่ของโลก

สัญญาณเตือนยุคโลกเดือด “ไข้เลือดออก-มาลาเรีย”ระบาดหนัก

สัญญาณเตือนยุคโลกเดือด “ไข้เลือดออก-มาลาเรีย”ระบาดหนัก

โลกร้อน หรือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กำลังส่งผลกระทบมากกว่าเรื่องอากาศร้อนจัดและการเปลี่ยนแปลงฤดูกาล แต่กำลังคุกคามถึงสุขภาพของคนไทย เมื่อพบว่าในปีที่ผ่านมา ไข้เลือดออกและไข้มาลาเรีย ระบาดหนักในเอเชีย รวมถึงไทย

ภาคอุตสาหกรรม อีกต้นต่อสำคัญสร้างฝุ่น PM2.5

ภาคอุตสาหกรรม อีกต้นต่อสำคัญสร้างฝุ่น PM2.5

ฝุ่น PM2.5 เป็นปัญหาระดับชาติที่ประเทศไทยเผชิญมาอย่างต่อเนื่อง และต้นกำเนิดฝุ่นที่รัฐบาลอาจพูดถึงไม่มากนัก นั่นคือ “อุตสาหกรรม” มูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้สะท้อนผ่านบทความ ตอนที่ 1 “ในม่านมัวของปัญหาฝุ่น PM2.5 มี อุตสาหกรรมซ่อนเร้นอยู่” พร้อมเผยข้อมูล พื้นที่ฝุ่นหนาสอดคล้องกับจำนวนโรงงานอุตสาหกรรม

ย้อนรอย COP26-COP27 ข้อตกลงแก้โลกร้อน “ไม่คืบ”

ย้อนรอย COP26-COP27 ข้อตกลงแก้โลกร้อน “ไม่คืบ”

Policy Watch ชวนดูข้อสรุปที่เกิดขึ้นในเวที COP26 และ 27 รวมถึงจุดยืนของประเทศไทยในการแสดงความร่วมมือเพื่อนำไปสู่เป้าหมายการลดอุณหภูมิโลก ซึ่งล้วนมีผลสืบเนื่องต่อมายังเวที COP28 โดยเฉพาะเป้าหมายในการลดอุณหภูมิโลกและการจัดตั้งกองทุน Loss and Damage Fund

พร้อมแค่ไหน รับมือยุคโลกเดือด?

พร้อมแค่ไหน รับมือยุคโลกเดือด?

นโยบายสิ่งแวดล้อมแทบทุกรัฐบาล มักมีความสำคัญในลำดับรองหรือไม่ก็เป็นส่วนหนึ่งของเป้าหมายการฟื้นฟูเศรษฐกิจ แต่ในภาวะที่ทั่วโลกกำลังเข้าสู่ยุค “โลกเดือด” และเกิด “ความแปรปรวน” ยากที่จะคาดการณ์ ดังนั้นจึงถึงเวลาที่ต้องให้ความสำคัญกับเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง