บทความ

สมาชิกกบข. 82% เสี่ยง เงินเกษียณไม่บรรลุเป้าหมาย
สมาชิกกบข. กว่า 80% กำลังเผชิญกับความเสี่ยงเงินไม่พอหลังเกษียณในระดับที่ "ดี" สมาชิกวัยใกล้เกษียณ อายุ 55-60 ปี มีหนี้สินเฉลี่ยคนละ 1.96 ล้านบาท ไม่มีที่อยู่อาศัยของตัวเองและอายุยืนขึ้น ฐานะการเงินระดับดีต้องมีเงินเก็บ 8.63 ล้านบาท รองรับรายจ่ายเดือนละ 36,000 บาท

โฉมหน้า"สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์"ไทย หญิงมากกว่าชาย-พึ่งพาผู้อื่น
ปี 2567 เป็นปีที่สังคมเข้าสู่ "สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์" หรือ Complete aged society เมื่อสัดส่วนผู้มีอายุเกิน 60 ปีกว่า 20% โดยรูปร่างหน้าของสังคมสูงอายุไทย มีผู้สูงวัย 14.03 ล้านคน ผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ส่วนใหญ่อาศัยอยู่กับผู้อื่น และอยู่คนเดียวมากขึ้น มีรายได้หลักจากบุตรหลานและ 1 ใน 3 ยังต้องทำงาน

ชำแหละบัตรคนจน: จนจริง 1.4 ล้านคนหลุด ไม่จน 10.1 ล้านคนได้
วิพากษ์มาตรการ “บัตรคนจน“ หลังกระทรวงการคลัง เตรียมลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐรอบใหม่ภายใน มี.ค. 2568 แต่ที่ผ่านมา พบมีคนจนตกหล่น 1.4 ล้านคน และคนไม่จนได้สิทธิ 10.1 ล้านคน สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วยฯ ชี้สาเหตุจากตั้งเกณฑ์ไม่เข้มข้น ไม่รู้รายได้ที่แท้จริง และให้สิทธินานหลายปีโดนไม่ได้กรองซ้ำใหม่

กองทุนประกันสังคมปี 67 เมื่อรายจ่ายมากกว่าผลตอบแทน
ปี 67 กองทุนประกันสังคมมีผลตอบแทน 7.19 หมื่นล้านบาท แต่รายจ่ายสิทธิประโยชน์กว่า 130,000 ล้านบาท จัดเก็บได้ 240,000 ล้านบาท เป็นสัญญาณเตือนว่าถึงเวลาต้องปรับครั้งใหญ่ เพื่อรองรับความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น หากเงินนำส่งลดจากแรงงานลด แต่รายจ่ายเพิ่มจากสังคมสูงวัย

รายจ่ายรับสังคมสูงวัย กำลังกดดันหนี้สาธารณะ
หนี้สาธารณะยังเป็นประเด็นที่บรรดาสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือให้ความสนใจสำหรับประเทศไทย แม้ยังไม่น่าจะกังวลมาก แต่มีแนวโน้มขยับขึ้นต่อเนื่อง ทั้งจากสังคมสูงวัยที่มีแนวโน้มค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นและนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล

เงื่อนไขซื้อ"หวยเกษียณ" ออมเงินใช้ตอนอายุ 60 ปี
ครม.เห็นชอบหลักการร่างแก้ไข พ.ร.บ.กองทุนการออมแห่งชาติ เพื่อดำเนินโครงการหวยเกษียณ หวังส่งเสริมคนไทยออมเงินใช้ตอนเกษียณ รองรับสังคมสูงวัย

เพิ่มเบี้ยคนพิการถ้วนหน้า 1,000 บาท เบี้ยผู้สูงอายุ 100-250 บาท
รัฐบาลเพิ่มเบี้ยผู้สูงอายุถ้วนหน้าเป็น 1,000 บาท ขณะที่ผู้สูงอายุปรับเพิ่มตามขั้นเดิม โดยปรับเพิ่มตั้งแต่ 100-250 บาท รอกระทรวงพัฒนาสังคมฯประกาศใช้

สังคมสูงวัย ไม่ใช่แค่ผู้สูงอายุ แต่เป็นเรื่องของทุกคน
8 กระแสดิสรัปชันเขย่าโลก เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันในหลายมิติ ในขณะที่สังคมไทยกำลังเร่งเข้าสู่สังคมสูงวัย แต่คนในสังคมยังไม่เข้าใจมากพอว่าจะเกิดอะไรขึ้น "นพ.วิจารณ์ พานิช" แนะ 5 กลยุทธ์รับสถานการณ์ ทุกฝ่ายต้องร่วมมือกัน เพราะไม่ใช่เรื่องของผู้สูงอายุ แต่เป็นเรื่องของทุกคน

ปัญหา "งานวิจัยขึ้นหิ้ง" อุปสรรคพัฒนาเครื่องมือแพทย์
เครื่องมือแพทย์จะมีส่วนสำคัญในการดูแลสุขภาพผู้สูงวัยที่มีมากขึ้นในอนาคต แต่ไทยยังคงนำเข้าเครื่องมือแพทย์ส่วนใหญ่จากต่างประเทศ จะทำอย่างไรให้ไทยผลิตเครื่องมือแพทย์ได้เอง เพื่อลดต้นทุนโรงพยาบาลและให้ประชาชนเข้าถึงการรักษาได้อย่างเท่าเทียม

กองทุนประกันสังคม: ถึงเวลาปรับใหญ่ก่อนเผชิญวิกฤต
กองทุนประกันสังคมกำลังถึงจุดเปลี่ยนสำคัญ เมื่อสังคมไทยกำลังก้าวสู่ "สังคมสูงอายุระดับสุดยอด" ทำให้จำเป็นต้องมีการปรับการบริหารจัดการเพื่อรองรับผู้สูงอายุที่เกษียณจากการทำงาน ซึ่งทำให้กองทุนมีภาระต้องจ่ายเงินบำนาญมากขึ้นและอาจเกิดปัญหาสภาพคล่องทางการเงินจนกระทบหลักประกันคนทำงานส่วนใหญ่ของประเทศ

คนรุ่นใหม่อยากมีบ้าน แต่รายได้น้อย-มีภาระ ไม่มีกำลังซื้อ
ผลสำรวจความคิดเห็นผู้บริโภคครึ่งปีหลัง พบว่ายังมีความต้องการซื้อที่อยู่อาศัย แต่ยังกังวลเกี่ยวกับความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ คนเริ่มหันมากเช่ามากขึ้น เนื่องจากที่อยู่อาศัยราคาแพง ขณะคนรุ่นใหม่ กลุ่มมิลเลนเนียลและ GEN Y-Z หันมาอยู่กับพ่อแม่มากขึ้น เพราะต้องดูแลผู้สูงอายุและรายได้ไม่เพียงพอ ขอรอรับมรดก

พัฒนาทุนมนุษย์ไม่ใช่ภาระ! ข้อเสนอถึงรัฐแก้ความเหลื่อมล้ำ
พัฒนา “ทุนมนุษย์” ไม่ใช่ภาระ แต่เป็นความจำเป็นเร่งด่วน ! ข้อเสนอเชิงนโยบายถึงรัฐบาล แก้กับดักความเหลื่อมล้ำ ปูทางสู่การสร้างสวัสดิการที่ทำให้ทุกคนในสังคมเท่ากัน

หนี้ครัวเรือน-สังคมสูงวัย ฉุดเศรษฐกิจไทยโตต่ำ
ปัญหาเชิงโครงสร้างของเศรษฐกิจไทยพูดกันมานาน แต่ยังไม่มีรัฐบาลไหนแก้ไขได้ เมื่อเศรษฐกิจชะลอตัว รัฐบาลในแต่ละยุคก็มักจะใช้มาตรการกระตุ้นระยะสั้น แต่จากสถานการณ์หลังโควิด-19 หลายประเทศพื้นตัวเร็ว แต่ไทยยังย่ำแย่ สะท้อนให้เห็นปัญหารุนแรงขึ้นจากปัญหาหนี้ครัวเรือนสูงและสังคมสูงอายุ ฉุดบริโภคในประเทศ

92 ปี เส้นทางระบบสวัสดิการไทย
ย้อนพัฒนาการระบบสวัสดิการกับ “ธร ปีติดล” ฟังมุมมองวิเคราะห์กว่า 92 ปี ประเทศไทยอยู่ตรงไหนใน “รัฐสวัสดิการ” ของโลก

สังคมสูงอายุ กำลังฉุดเศรษฐกิจไทย แย่กว่าทุกวิกฤต
ขณะที่รัฐบาลพยายามผลักดันให้จีดีพีของประเทศขยายตัวมากกว่า 3% ด้วยการกระตุ้นเศรษฐกิจระยะสั้น แต่อาจไม่ง่าย เพราะศักยภาพของเศรษฐกิจไทมีแนวโน้มขยายตัวต่ำกว่า 2% เนื่องจากปัญหาโครงสร้าง ทั้งขีดแข่งขันของประเทศ แรงงานเข้าสู่สังคมสูงอายุ ทำให้ศักยภาพแต่กว่าทุกวิกฤตที่ผ่านมา

ผลสำรวจชี้คนไทย แก่ก่อนรวยมากขึ้น
คนไทยกำลังเผชิญปัญหาในวัยเกษียณ เนื่องจากไม่มีความพร้อม โดยครัวเรือนที่มีผู้ใกล้วัยเกษียณเกิน 50 ปีและรายได้ต่ำมีสัดส่วนมากถึง 42% ต้องพึ่งพารายได้อื่น โดยเฉพาะผู้มีรายได้ต่ำกว่าเดือนละ 50,000 บาท

"หวยเกษียณ"อีกนาน ต้องแก้กฎหมาย คาดใช้ได้ปี 68
หวยเกษียณ เป็นโครงการที่ต้องการให้คนไทยมีเงินเก็บออมไว้ใช้ตอนอายุ 60 ปี ผ่านการซื้อหวย โดยมีเงินรางวัลออกทุกสัปดาห์สูงสุด 1 ล้านบาท ล่าสุด ครม.เห็นชอบหลักการของ ก.คลัง ให้ กอช.แก้ไขกฎหมาย พ.ร.บ.กองทุนการออมแห่งชาติ เพื่อให้สามารถดำเนินโครงการฯได้ คาดเริ่มโครงการฯภายในปี 2568

ระเบิดเวลาประชากร: เกิดน้อย แก่มาก
อัตราการเกิดของไทยลดลงเรื่อย ๆ ทำให้จำนวนการเกิดของเด็กลดน้อยลง แต่ผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้ประเทศไทยกำลังเผชิญกับความท้าทายสำคัญทั้งในมิติเศรษฐกิจ สังคม ในอนาคต หากไม่มีมาตรการรองรับอย่างจริงจัง

คนไทย 40 ล้านเป็น"ผู้มีงานทำ" ทำอะไรและอยู่ที่ไหน
สถิติตัวเลขผู้มีงานทำของคนไทยราว 40 ล้านคน แต่เมื่อจำแนกออกมา จะพบว่าส่วนใหญ่ ทั้งนายจ้างและลูกจ้างกระจุกตัวอยู่ในกลุ่มการค้า บริการและท่องเที่ยว จึงไม่น่าแปลกใจที่เศรษฐกิจไทยจะมีความอ่อนไหวอย่างมากจากสถานการณ์ภายนอกและภาคในประเทศที่ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่น

ไทยต้องขึ้นภาษี เลี่ยงวิกฤตการคลัง
ธนาคารโลกแนะไทยต้องขึ้นภาษี ลดความเสี่ยงทางการคลัง คาดปี 68 หนี้สาธารณะไทยจะสูงขึ้นที่ 64.6% ต่อจีดีพี รัฐบาลจะเผชิญแรงกดดันด้านรายจ่ายสูงขึ้นจากสังคมสูงวัย และขยายการการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน

ฐานะการคลังเสี่ยงสูง รายจ่ายรัฐเพิ่มจากสังคมสูงอายุ
ประชากรสูงวัยมีเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ก่อนจะเข้าสู่สังคมสูงวัยขั้นสุดยอดในอีก 5 ปีข้างหน้า รัฐบาลต้องเร่งหามาตรการรับมืออย่างจริงจัง เพราะรายได้ภาครัฐกำลังลดลงจากวัยคนทำงานลดลง ขณะที่รายง่ายด้านสวัสดิการที่รัฐจัดหาให้ต้องใช้งบประมาณเพิ่มขึ้นอย่างมาก

ปรากฏการณ์ครอบครัว "แซนด์วิช เจเนอเรชั่น"
"แซนด์วิช เจเนอเรชั่น" เป็นปรากฏการณ์สังคมยุคใหม่ ที่มีคนหนึ่งในครอบครัว ต้องรับผิดชอบและดูแล ทั้งลูกและผู้สูงอายุ คาดครอบครัวคนไทยเกือบ 4 ล้านครอบครัวเจอปัญหานี้ ส่วนมากเป็นแรงงานนอกระบบ การศึกต่ำ และรายได้น้อย ทำให้ฐานการเงินมีความเปราะบางและสุขภาพย่ำแย่จากการทำงานหนักขึ้น

คนไทย 1 ใน 5 เป็นโสด กว่าครึ่งอาศัยอยู่ในกทม.

อัตราบำนาญพื้นฐานที่เหมาะสม และข้อพิจารณาทางเศรษฐกิจของประเทศ

รับมือสังคมสูงวัย รัฐแจก 3,000 บาท ดึงลูกหลานช่วยดูแลผู้สูงอายุ
กรมกิจการผู้สูงอายุ ให้เงินสนับสนุนครอบครัวอุปถัมป์ผู้สูงอายุ 3,000 บาท/คน/เดือน ดึงลูกหลานและชุมชนช่วยดูแลผู้สูงอายุเปราะบาง เป็นการลดภาระหน่วยงานรัฐในการดูแล และรับมือกับประชากรสูงวัยที่จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ในอนาคต

ธุรกิจร้านขายยาแข่งเดือด รับสังคมสูงวัยขั้นสุดยอด
คาดการณ์ธุรกิจร้านขายในปี 67 จะเติบโต และการแข่งขันมีแนวโน้มรุนแรง จากการเร่งขยาย ท่ามกลางผู้สูงอายุในไทยที่มีแต่เพิ่มมากขึ้น และมีความเสี่ยงด้านสุขภาพ

ฝันให้ไกลไปให้ถึง เบี้ยผู้สูงอายุถ้วนหน้า 3,000 บาท
ผู้สูงอายุจำเป็นต้องมีรายได้เลี้ยงชีพในวัยเกษียณ แต่ “เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ” จ่ายสูงสุด 1,000 บาท/เดือน กลับไม่ได้ปรับขึ้นมากว่า 10 ปี ขณะที่ข้าวของแพงขึ้นทุกปี ทำให้ไม่เพียงพอกับ“ค่าใช้จ่ายขั้นต่ำ” และยังต่ำกว่าเส้นความยากจนมากขึ้นเรื่อย ๆ ล่าสุดมีข้อเสนอจ่ายถ้วนหน้า 3,000 บาท จะเป็นไปได้แค่ไหน?

เคาะขึ้น “เบี้ยผู้สูงอายุ” จ่ายทุกคน 1,000 บาท/เดือน
คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนสวัสดิการโดยรัฐ ปรับขี้นเบี้ยผู้สูงอายุในรอบกว่า 10 ปี เป็น 1,000 บาท/เดือน และเปลี่ยนวิธีจ่ายเป็นแบบได้ทุกคนเท่ากัน ตามข้อเสนอของ กมธ.สวัสดิการสังคม ที่ไม่ให้เบี้ยผู้สูงอายุต่ำกว่าเส้นความยากจน และเพื่อรองรับไทยกำลังเข้าสู่งสังคมสูงวัยในอนาคต

ส่องเงื่อนไข-สิทธิ "บำเหน็จบำนาญชราภาพ" ประกันสังคมล่าสุด
นับตั้งแต่วันที่ 31 ธ.ค. 2541 สำนักงานประกันสังคมได้เรียกเก็บเงินสมทบ "ชราภาพ" เพื่อเป็นเงินสะสมสำหรับสมาชิกประกันสังคมเมื่อถึงวันเกษียณอายุ ซึ่งปัจจุบัน กองทุนมีการจ่ายเงินบำเหน็จบำนาญชราภาพให้กับสมาชิกแล้ว แต่มีการปรับปรุงเงื่อนไขบางอย่าง ดังนั้น สมาชิกต้องมั่นตรวจสอบเพือประโยชน์ของตัวเอง

ส่งเสริมการมีบุตร เรื่องไม่ง่ายแค่ปลายนิ้ว
"ส่งเสริมการมีบุตร" ไม่ง่ายอย่างที่คาดการณ์ไว้ แม้รัฐบาลประกาศเป็นนโยบายเกือนครึ่งปี แต่ยังไม่มีข้อมูลว่าเริ่มดำเนินการได้แค่ไหน ขณะที่ผลสำรวจแรงงานและพนักงานพบว่าเกือบ 70% ไม่มีแผนมีบุตรใน 5 ปีข้างหน้า จากสารพัดปัญหา โดยเฉพาะค่าครองชีพ

มรสุมเศรษฐกิจฉุดคุณภาพชีวิต ตัวเร่ง "สังคมคนโสด"
กลุ่มคนโสดในไทยเริ่มมีแนวโน้มเร่งตัวสูงขึ้น กระทบอัตราการเกิดของเด็กใหม่ลดลงต่ำสุดในรอบ 70 ปี ทำให้รัฐบาลเตรียมประกาศส่งเสริมการมีบุตรให้เป็นวาระแห่งชาติ เพราะคาดการณ์ว่าในอนาคตประชากรไทยอาจลดเหลือเพียง 33 ล้านคน

ร่างพ.ร.บ.ผู้สูงอายุและบำนาญแห่งชาติ ฉบับภาคประชาชน
เครือข่ายประชาชนเพื่อรัฐสวัสดิการ เสนอ (ร่าง) พ.ร.บ.ผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... บนหลักการ "ถ้วนหน้าครอบคลุมทุกคน เพียงพอต่อการดำรงชีพอย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โดยอิงตามเส้นความยากจนที่ปรับทุก 3 ปี และยั่งยืน โดยมีกฎหมายบำนาญแห่งชาติมารองรับ”

วิกฤติกำลังแรงงานไทย อีก 30 ปีลดเหลือครึ่งเดียว
สังคมสูงวัยกำลังส่งผลกระทบมากขึ้นเรื่อย คาดว่าหลังจากเข้าสู่สังคมสูงวัยขั้นสุดยอดในปี 2572 สังคมไทยจะมีกำลังแรงงานราว 58% ของประชากรทั้งประเทศ ก่อนจะลดลงเหลือ 50% ในปี 2593 หรืออีกราว 30 ปี

รายได้ผู้สูงอายุวิกฤต คาด 20 ปี ข้างหน้า 91.4% ยังต้องทำงาน
ในปีที่ผ่าน ประเทศไทยเข้าสู่ "สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์" และกำลังจะเข้าสู่สังคมสูงวัยระดับสุดยอด (Super-Aged Society) ในปี 2567 โดยผู้มีอายุเกิน 60 ปี จะมีสัดส่วนราว 28% หรือ 1 ใน 4 ของประชากรทั้งประเทศ

คนไทย “แก่” แต่ยัง “เก๋า” กับ 4 เรื่องเร่งด่วนที่รัฐต้องทำ
มาตรการภาครัฐที่ต้องดำเนินการ "เร่งด่วน" รองรับ "สังคมสูงวัยระดับสุดยอด" คือ ต้องออกแบบนโยบายสังคมสูงอายุที่มีประสิทธิภาพ มองก้าวข้ามแค่เรื่องเงิน ต้องยึดผู้สูงอายุเป็นศูนย์กลาง และเปิดทางให้องค์กรส่วนท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทมากขึ้น

เงินบำเหน็จบำนาญจากรัฐ คนไทยกลุ่มไหนได้เท่าไหร่?
เงินบำเหน็จบำนาญในปัจจุบัน ไม่เพียงแต่บรรดาคนที่รับราชการเท่านั้น แต่แรงงาน ทั้ง "ในระบบ-นอกระบบ" ต่างก็มีโอกาสได้รับผ่านกองทุนประกันสังคม ส่วนพนักงานรัฐวิสาหกิจนั้นไม่ต้องห่วง เพราะมีระบบสวัสดิการของตัวเองอยู่แล้ว แต่จากเงื่อนไขที่ต่างกันทำให้บำเหน็จบำนาญที่ได้รับหลังเกษียณอายุต่างกันมาก

รัฐบาลต้องเร่งหารายได้ รับผู้สูงอายุ พุ่ง 38% ใน 4 ปี
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เสนอให้รัฐบาลเพิ่มศักยภาพทางด้านการคลัง โดยเฉพาะการหารายได้ของรัฐบาล เพื่อรองรับสวัสดิการทางสังคม รับสังคมสูงวัย โดยคาดว่าค่าใช้จ่ายเบี้ยผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้น 38%

ความเท่าเทียมในสวัสดิการ “คลุมเครือ คาดหวังสูง”
ในการเลือกตั้งที่ผ่านมาหลายพรรคการเมืองชูนโยบายเกี่ยวกับ “รัฐสวัสดิการ” แม้ว่าแต่ละพรรคมุ่งเน้นนโยบายต่างกัน แต่ก็ชี้ให้เห็นว่า “สวัสดิการจากภาครัฐ” ได้ปักหลักอย่างมั่นคงในนโยบายของรัฐบาลนับจากนี้ไป